ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่าจื๊อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้องกัน "เล่าจื๊อ": สงครามการแก้ไขที่ไม่สร้างสรรค์ ([แก้ไข=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (ไม่มีกำหนด) [ย้าย=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (ไม่มีกำหนด))
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Lao Tzu - Project Gutenberg eText 15250.jpg|thumb|250px|เล่าจื๊อ, จาก ''ไมท์แอนด์ลีเจนส์ออฟไชน่า'', [[ค.ศ. 1922]] โดย อี.ที.ซี. เวอร์เนอร์]]
 
'''เล่าจื๊อ''' ({{Zh-all|老子|p=Lǎo zǐ}}; {{lang-en|Lao Zi หรือ Lao Tzu}}) [[นักปรัชญา]]ชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500

600 ปี [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมือง[[ยุคชุนชิว]] เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "[[เต้าเต๋อจิง|เต๋าเต็กเก็ง]]" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทาง[[ลัทธิเต๋า|ศาสนสเต๋า]]ที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทาง[[เต๋า]] [[ประวัติศาสตร์]] [[ภูมิศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]]
 
== ประวัติ ==
เส้น 13 ⟶ 15:
จากการตีความ คำว่า "เต๋า" ในคัมภีร์ มักจะหมายถึง ''มรรค'' หรือ หนทาง (The way) หรือ [[ธรรม]] ซึ่งมีความหมายกว้าง ๆ และมักตีความหมายในแนวเป็นไปตามธรรมชาติ การกระทำที่สอดคล้องกับวิถีแห่งเต๋าใดๆ จะสามารถบรรลุมรรคผลได้โดยง่าย เล่าจื๊อเชื่อว่า ควรหลีกเลี่ยงความรุนแรงต่างๆเท่าที่จะเป็นไปได้ ส่วนคำว่า "เต็ก หรือ เต๋อ" นั้นหมายถึง "คุณธรรม" คัมภีร์นี้แบ่งออกเป็น 81 บทด้วยกัน
 
ถึงแม้ว่าเล่าจื๊อจะไม่ได้ปลูกฝังวัฒนธรรมหยั่งลึกได้เทียบเท่ากับ ขงจื๊อ ในอารยธรรมจีน แต่ท่านก็ยังเป็นที่เคารพนับถือโดยทั่วไป แม้แต่ขงจื๊อยังเรียกท่านว่าอาจารย์ทั้งแนวความคิดและการปฏิบัติตามหนทางแห่งเต๋า
 
== อิทธิพลต่อปัญญาชนรุ่นหลัง ==