ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาอึลซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฮิโระบุมิ" → "ฮิโรบูมิ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|250232px}}
{{กล่องข้อมูล สนธิสัญญา
| name = สนธิสัญญาอึลซา
บรรทัด 31:
 
== การลงนาม ==
9 พฤศจิกายน 1905 [[อิโต ฮิโระบุมิโรบูมิ]] เดินทางถึง[[โซล|กรุงฮันซอง]] (กรุงโซล) และเข้าถวายพระราชสาสน์จาก[[จักรพรรดิเมจิ|จักรพรรดิมุสึฮิโตะตสึฮิโตะ]]แห่งญี่ปุ่นแก่[[พระเจ้าโกจง|จักรพรรดิโกจง]]แห่งเกาหลี เพื่อต้องการให้จักรพรรดิโกจงลงพระนามในสนธิสัญญา ซึ่งพระองค์ก็ไม่ยิมยอม ต่อมาในวันที่ 15 พฤศจิกายน อิโต อิโตได้บัญชาให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าล้อมพระราชวังหลวงไว้ เพื่อกดดันให้พระองค์ทรงลงพระนาม
 
17 พฤศจิกายน พลเอก ฮะเซะนะวะฮาเซนาวะ โยะโยชิมิชิ ผู้บัญชาการกองทหารรักษาการณ์ประจำเกาหลี พร้อมด้วย อิโต ฮิโระบุมิโรบูมิ และกองทหารญี่ปุ่นส่วนหนึ่ง ได้เข้าไปยังพระที่นั่งจุงเมียงจอน ซึ่งเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่ตั้งอยู่ในพระราชวังด็อกซุกอุง เพื่อเกลี้ยกล่อมให้จักรพรรดิเกาหลีลงพระนามในสนธิสัญญา แต่พระองค์ก็ได้ปฏิเสธ ดังนั้น อิโต จึงบีบบังคับด้วยกำลังทหารให้คณะรัฐมนตรีเกาหลีลงนาม<ref>McKenzie, F. A. ''Korea's Fight for Freedom''. 1920.</ref> อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีเกาหลี ฮัน กยูซอล ปฏิเสธการลงนามอย่างเสียงดัง อิโตจึงสั่งให้ทหารนำตัวเขาไปขัง และขู่ว่าถ้าเขายังไม่หยุดโวยวายเสียงดังจะสังหารเขา<ref>이토 히로부미는 직접~ :한계옥 (1998년 4월 10일). 〈무력을 앞장 세워 병탄으로〉, 《망언의 뿌리를 찾아서》, 조양욱, 1판 1쇄, 서울: (주)자유포럼, 97~106쪽쪽. ISBN 89-87811-05-0</ref> เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ จึงมีรัฐมนตรีเกาหลี 5 คนซึ่งเรียกว่า "5 รัฐมนตรี" ยอมลงนาม คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ อี วันยง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม
 
=== การไม่ยอมรับของจักรพรรดิโกจง ===
ภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผ่านพ้น จักรพรรดิโกจงได้ทรงส่งราชสาสน์ส่วนพระองค์ไปยังบรรดาประมุขแห่งรัฐของประเทศมหาอำนาจ เพื่อขอแนวร่วมเพื่อต่อต้านการลงนามที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย<ref name="king_letter">Lee Hang-bok. [http://joongangdaily.joins.com/article/view.asp?aid=2910347 "The King's Letter,"] ''English JoongAng Daily.'' September 22, 2009.</ref> โดยพระองค์ได้ส่งราชสาสน์ลงตราราชลัญจกรไปยัง 8 ประมุขแห่งรัฐ คือ
# [[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร]]
# ประธานาธิบดี [[อาร์ม็อง ฟาลีแยร์]] แห่งฝรั่งเศส
# [[ซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดินีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย]]
บรรทัด 44:
# [[สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม]]
# [[จักรพรรดิกวังซวี่|จักรพรรดิกวังซวี่แห่งจักรวรรดิชิง]]
# [[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]
 
== อ้างอิง ==