ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมพิเรียลคอลเลจลอนดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
== ประวัติ ==
=== การก่อตั้ง ===
สืบเนื่องจากการก่อตั้งสถาบันหลวง (Imperial Institute) โดย[[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี|เจ้าชายอัลเบิร์ต]] พระราชสวามี [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียวิกตอเรีย]] โดยในปี ค.ศ. 1887 [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียวิกตอเรีย]] เสด็จวางศิลาฤกษ์ ต่อมาราชวิทยาลัยลอนดอน เริ่มก่อตั้งขึ้นจากการผนวกเอาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน สถาบันหลักที่เป็นต้นกำเนิดวิทยาเขตเซาท์เคนซิงตันซึ่งเป็นวิทยาเขตหลักได้แก่ [[รอยัลสคูลออฟไมนส์]] ({{lang-en|Royal School of Mines}}) (ค.ศ. 1854 โดยเซอร์เฮนรี่ เดอ ลา บาช) [[รอยัลคอลเลจออฟไซอันเซส]] ({{lang-en|Royal College of Sciences}}) (ค.ศ. 1881) และ[[ซิตีแอนด์กิลด์คอลเลจ]] ({{lang-en|City and Guild College}}) (ค.ศ. 1884)<ref>http://www.imperial.ac.uk/centenary/timeline/1845.shtml</ref>
 
=== คริสต์ศตวรรษที่ 20 ===
บรรทัด 83:
 
== วิทยาเขต ==
ราชวิทยาลัยลอนดอนดำเนินการบริหารและกิจการทุก ๆ อย่างภายในวิทยาเขตเซาท์เคนซิงตัน ย่านอันเป็นแหล่งรวมของทั้งสถาบันทางการศึกษาและศิลปะต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์วิคตอเรียวิกตอเรียอัลเบิร์ต โรยัลสคูลออฟมิวสิค โรยัลคอลเลจออฟอาร์ต สมาคมภูมิศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ โรงมหรสพหลวงอัลเบิร์ต ฯลฯ
 
นอกจากวิทยาเขตหลักที่เซาท์เคนซิงตันแล้ว ราชวิทยาลัยลอนดอนยังประกอบไปด้วยวิทยาเขตย่อย ๆ ต่าง ๆ ภายในมหานครลอนดอน และนอกมหานครลอนดอน