ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ ได้ร่วมกิจกรรมกับภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ และประชาชนทั่วไป ในการแสดงความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างสม่ำเสมอ และกิจกรรมถวายพระเกียรติพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ<ref>[http://www.chaoprayanews.com/2012/02/06/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%A3/ เชียงใหม่จัดพิธีเทิดพระเกียรติ “พระเจ้าค่ายกาวิละ”]</ref> และ[[เจ้านายฝ่ายเหนือ]]<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1345972402&grpid=02&catid=02 ต้นตระกูล ณ เชียงใหม่ร่วมจุฬาฯ ทำบุญคล้ายวันประสูติ "พระราชชายาเจ้าดารารัศมี" เสวนา-ฟ้อนเล็บยิ่งใหญ่]</ref> ในฐานะที่เป็นผู้สืบราชสกุล [[ณ เชียงใหม่]]<ref>http://region3.prd.go.th/ct/news/showprint.php?ID=090419115125</ref> นอกจากนั้นยังมีบทบาทในการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ อาทิ สนับสนุน "โครงการรณรงค์ น้อมนำพระราชดำรัส พระบรมราโชวาท พระราชดำริ แนวทางทรงงานและพระราชปรัชญา ประพฤติเป็นวัตรปฏิบัติ ในโครงการบัณฑิตอุดมคติไทย" ของ[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]<ref>[http://www.hedlomnews.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B9%8C-%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%AF%E0%B8%A1%E0%B8%8A-%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%8750%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99.html "เจ้าวงศ์สักก์" มอบทุนหนุนวิศวฯมช. นำร่อง50มหา'ลัยสร้างฝายให้ชุมชน]</ref>
 
ในปัจจุบันเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ ดำรงสถานะเป็นผู้แทนเจ้านายฝ่ายเหนือ ประมุขแห่งสายสกุล ณ เชียงใหม่ ในการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ อาทิ การนำคณะทายาทและประชาชนสักการะกู่เจ้านายฝ่ายเหนือ ณ วัดสวนดอก ซึ่งเป็นประเพณีในสายตระกูลที่ปฏิบัติสืบต่อจากเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ ที่ได้ริเริ่มไว้และได้จัดตั้งมูลนิธิกู่เจ้านายฝ่ายเหนือ ภายหลังได้รับการยกสถานะขึ้นเป็นประเพณีดำหัวกู่ของจังหวัดเชียงใหม่ถึงปัจจุบัน<ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9550000047993 ชาวเชียงใหม่หลั่งไหลสักการะกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่คับคั่ง]จาก มติชน วันที่ 17 เมษายน 2555 สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2558</ref>
 
ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ ได้ดำเนินการส่งมอบไม้เท้าหุ้มทอง ซึ่งเป็นสมบัติที่ตกทอดมาจากเจ้าแก้วนวรัฐ ให้แก่[[เจ้าวีระยุทธ ณ เชียงใหม่]] หรือเจ้าน้อย เพื่อเก็บรักษาและส่งต่อให้แก่ทายาทในสายสกุล ณ เชียงใหม่ โดยมีทายาทในสกุล ณ เชียงใหม่ ร่วมเป็นสักขีพยาน และเจ้าวงศ์สักก์จะได้มอบหมายให้เจ้าวีระยุทธสานต่องานของตนที่ดำเนินการในนามในมูลนิธนวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือต่อไป<ref>[https://www.matichon.co.th/region/news_896636 เจ้าวงศ์สักก์ฯส่งมอบไม้เท้าหุ้มทองคำให้ "เจ้าน้อย" สืบสมบัติ "เจ้าแก้วนวรัฐ" ณ เชียงใหม่] จาก มติชน วันที่ 29 มีนาคม 2561 สืบค้นวันที่ 29 สิงหาคม 2561</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==