ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวทำละลาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
คำ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ตัวทำละลาย''' ({{lang-en|solvent}}) เป็นของเหลวที่สามารถละลาย [[สารละลาย|ตัวถูกละลาย]] ที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซได้เป็น [[สารละลาย]] ตัวทำละลายที่คุ้นเคยมากที่สุดและใช้ในชีวิตประจำวันคือ[[น้ำ]] สำหรับคำจำกัดความที่อ้างถึง '''ตัวทำละลายอินทรีย์''' (organic solvent) จะหมายถึงตัวทำละลายอีกชนิดที่เป็น [[สารประกอบอินทรีย์]] (organic compoundอะไรก็ได้แต่ถ้าอยากรู้ไปถามพ่อคุณสิ:) และมี [[คาร์บอน]] อะตอมอยู่ด้วย โดยปกติตัวทำละลายจะมี [[จุดเดือด]] ต่ำ และระเหยง่าย
หรือสามารถกำจัดโดย [[การกลั่น]]ได้ โดยทั่วไปแล้วตัวทำละลายไม่ควรทำปฏิกิริยากับตัวถูกละลาย คือ มันจะต้องมีคุณสมบัติ [[เฉื่อย]] ทางเคมี ตัวทำละลายสามารถใช้ [[สกัด]] (extract) สารประกอบที่ละลายในมันจากของผสมได้ตัวอย่างที่คุ้นเคยได้แก่ การต้ม [[กาแฟ]] หรือ [[ชา]] ด้วยน้ำร้อน ปกติตัวทำละลายจะเป็นของเหลวใสไม่มีสีและส่วนใหญ่จะมีกลิ่นเฉพาะตัว [[ความเข้มข้น]]ของสารละลายคือจำนวนสารประกอบที่ละลายในตัวทำละลายในปริมาตรที่กำหนด '''[[การละลาย]]''' (solubility) คือจำนวนสูงสุดของสารประกอบที่ละลายได้ในตัวทำละลาย
ตามปริมาตรที่กำหนดที่ [[อุณหภูมิ]] เฉพาะ
 
ตัวทำละลายอินทรีย์ใช้ประโยชน์ทั่วไปดังนี้
* หอย
* [[ซักแห้ง]] (dry cleaning) เช่น [[เตตราคลอโรเอทิลีน]] (Tetrachloroethylene)
* หรรม
* [[ใช้เจือจางสี]] (paint thinner) เช่น [[โทลูอีน]] (toluene) [[น้ำมันสน]](turpentine)
* ยาล้างเล็บและตัวทำละลายกาว เช่น [[อะซิโตน]] [[เมทิลอาซีเทต]] [[เอทิลอาซีเทต ]])
* สารกำจัดคราบที่เป็นจุด เช่น [[เฮกเซน]](hexane) [[ปิทรอลอีเทอร์]](petrol ether)
* [[สารชำระล้าง]]s เช่น ซิตรัส (citrus) [[เทอร์ปีน]](terpene)
* [[น้ำหอม]] เช่น [[เอทานอล]]
* [[เคมีสังเคราะห์]]
 
== ตารางแสดงคุณสมบัติของตัวทำละลายสามัญ ==