ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรีดริช เอ็งเงิลส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kulananpop (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox Philosopher |
|region = นักเศรษฐศาสตร์ชาวตะวันตก |
|era = เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิสมากซ์ |
|color = #B0C4DE |
|image_name = Engels 1856.jpg
|image_size = 200px
|name = '''ฟรีดริช เองเอ็งเงิลส์'''|
|birth = [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2363]] เบเมน, [[ปรัสเซีย]]|
|death = {{วันตาย-อายุ|2438|8|5|2363|11|28}} [[ลอนดอน]], [[อังกฤษ]], [[สหราชอาณาจักร]]|
|school_tradition = เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิสมากซ์ |
|main_interests = [[เศรษฐศาสตร์]], [[เศรษฐศาสตร์การเมือง]], ความน่าจะเป็น, ทฤษฎีการต่อสู้ของชนชั้น, ระบบทุนนินยม |ทุนนิยม
|influences = |
|influenced = |
|notable_ideas = ผู้ร่วมก่อตั้งเศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิสกับมากซ์กับคาร์ล คาร์ล มาร์กซ์มากซ์, วัตถุนิยมเชิงประวัติศาสตร์ , ทฤษฎีสภาวะผิดปกติและการใช้หาประโยชน์อย่างไม่ถูกต้องกับคนงาน
| signature = Friedrich Engels Signature.svg
}}
 
'''ฟรีดริช เองเอ็งเงิลส์''' ({{lang-de|Friedrich Engels}}, {{IPA-de|ˈfʁiːdʁɪç ˈɛŋəlsˈɛŋl̩s|pron}}) เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎี[[สังคมนิยมวิทยาศาสตร์]] เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของ [[คาร์ล มาร์กซ์มากซ์]] โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์[[คอมมิวนิสต์]]และ[[ลัทธิมาร์กซมากซ์]] และมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซว่าด้วยมากซ์ว่าด้วย[[วัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์]] <!-- historical materialism --> และ[[วัตถุนิยมวิภาษวิธี]] <!-- dialectical materialism --> ให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม
 
== ประวัติ ==
เกิดวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2363 ที่เมือง สตุทการ์ด, เยอรมันชตุทท์การ์ท เป็นบุตรของนักธุรกิจสิ่งทอที่มั่งคั่ง เขาเข้าศึกษาในวิทยาลัยแต่เรียนไม่สำเร็จเพราะปฏิเสธที่จะเข้าสอบและลาออกมาช่วยบิดาทำธุรกิจ ใน พ.ศ. 2384 เขาถูกเกณฑ์เป็นทหารและไปประจำการอยู่ที่[[เบอร์ลิน|นครเบอร์ลิน]]เป็นเวลาปีเศษ เขาสนใจศึกษาเกี่ยวกับกองทหารและยุทธศาสตร์การรบ
ซึ่งในเวลาต่อมาเขาก็ได้ถ่ายทอดความรู้ทางทหารดังกล่าวให้มาร์กซมากซ์นำมาเขียนทฤษฏีการเมืองว่าด้วยอำนาจรัฐ โดยเขามีโอกาสพบและรู้จักมาร์กซมากซ์เป็นครั้งแรกที่เมือง[[โคโลญ]] ใน พ.ศ. 2385 ในขณะนั้นมาร์กซ์มากซ์เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ ''[[Rheinische Zeitungไรนิชเชอไซทุง]]'' ได้ชักชวนแองเจิลส์เอ็งเงิลส์ให้ช่วยเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ มิตรภาพที่เริ่มต้นด้วยตัวอักษรทำให้มาร์กซ์และแองเจิลส์มากซ์และเอ็งเงิลส์เริ่มใกล้ชิดกันทางความคิด และระหว่าง พ.ศ. 2385 - 2385–2387 แองเจิลส์เอ็งเงิลส์ได้ส่งข้อเขียนและทัศนะความคิดเห็นที่แหลมคมทางการเมืองและสังคมให้กับหนังสือต่าง ๆ ที่มาร์กซมากซ์จัดทำอยู่ไม่ขาดระยะ
 
ในปลายปี พ.ศ. 2385 เขาได้ย้ายไปอยู่อังกฤษและทำงานที่โรงงานสิ่งทอของบิดาสาขาเมือง[[แมนเชสเตอร์]] เขาเชื่อว่า ระบบอุตสาหกรรมของอังกฤษที่กำลังพัฒนาและขยายตัวอย่างรวดเร็ว จะทำให้ชนชั้นกรรมกรมีบทบาทและความสำคัญมากขึ้นทั้งกรรมกรจะเป็นพลังหลักของการปฏิวัติเพื่อสร้างสังคมใหม่ เขาจึงเข้าสังกัดกลุ่มปัญญาชนสังคมนิยม และสนับสนุนการเคลื่อนไหวของ[[ขบวนการชาร์ทิสชาร์ทิสต์]] (Chartism) ขณะเดียวกันเขาก็ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสภาวะความเป็นอยู่ของกรรมกรและผลกระทบของชุมชนที่สืบเนื่องจากระบบอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2387 เขาเรียบเรียงผลงานการค้นคว้าเป็นหนังสือสำคัญชื่อ {{lang|de|''Die Lage derarbeitenden Klasse in England''}} (''The Condition of the Working Class in England'') โดยเขียนเป็นภาษาเยอรมันและพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในดินแดนเยอรมันและนับเป็นงานเขียนคลาสสิกที่บุกเบิกแนวความคิดสังคมนิยมว่าด้วยชีวิตของกรรมกรอย่างละเอียด มาร์กซมากซ์ชื่นชมหนังสือเล่มนี้มาก เพราะทำให้เขาได้ข้อมูลว่าด้วยลักษณะและวิธีการทำงานของระบบทุนนิยมและบทบาทของอังกฤษในระบอบทุนนิยม
 
ในกลางปี พ.ศ. 2387 เมื่อเขาเดินทางมาฝรั่งเศสและมีโอกาสพบกับมาร์กซ์มากซ์ซึ่งขณะนั้นพำนักอยู่ที่ปารีส บุคคลทั้งสองถูกคอกันและในเวลาอันสั้นก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทและคู่คิดทางปัญญาของกันและกัน และต่อมาเขาก็ได้ถอนตัวออกจากธุรกิจที่รับผิดชอบโดยมาช่วยมาร์กซมากซ์ทำงานค้นคว้าที่[[บรัสเซลส์]]และในดินแดนเยอรมัน งานเขียนร่วมกันชิ้นแรกของทั้งสองคือ ''[[The German Ideology]]'' งานเขียนเรื่องนี้ถือเป็นตำราแบบฉบับที่สำคัญเล่มหนึ่งของสำนักเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสมากซ์
 
ในต้นปี พ.ศ. 2390 เขาและมาร์กซ์มากซ์เข้าเป็นสมาชิกกลุ่มสังคมนิยมที่รู้จักกันในชื่อ ''"สันนิบาตของผู้รักความเป็นธรรม"'' (League of the Just) ทั้งเขาและมาร์กซ์มากซ์ต่างมีบทบาทสำคัญในการชี้แนะทางความคิดและจัดทำโครงการปฏิบัติงานของสันนิบาตฯ ในการประชุมครั้งที่ 2 ของสันนิบาตฯ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2390 ที่ประชุมมีมติให้เขาและมาร์กซมากซ์ร่วมเขียนร่างโครงการที่กำหนดสถานภาพและบทบาท ตลอดจนหลักนโยบายและการดำเนินงานของสันนิบาตเพื่อพิจารณา เขาเป็นผู้ยกร่างโครงการและมาร์กซมากซ์แก้ไขปรับปรุงให้ชื่อว่า ''"หลักการลัทธิคอมมิวนิสต์"'' (''Principles of Communism'') แต่ที่ประชุมให้นำออกประกาศในชื่อ ''"[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]"'' (''Communist Manifesto'') ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ในต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 ก่อนหน้าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ในฝรั่งเศส 1 สัปดาห์ พร้อมกันนี้สันนิบาตของผู้รักความเป็นธรรมก็เปลี่ยนชื่อเป็น ''"สันนิบาตคอมมิวนิสต์"'' (Leagues of the Communist)
 
เมื่อเกิดการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ทั่วยุโรป เขาได้เดินทางกลับไปบาร์เมนเพื่อเคลื่อนไหวปฏิวัติ แต่ในเวลาอันสั้นก็ต้องลี้ภัยกลับมาอังกฤษอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากการปฏิวัติในดินแดนเยอรมันล้มเหลว
 
พ.ศ. 2393 เขากลับไปทำธุรกิจโรงงานสิ่งทอที่เมืองแมนเชสเตอร์อีกครั้ง เพราะตระหนักว่าเขาต้องมีรายได้ประจำเพื่อเลี้ยงดูครอบครัว และจุนเจือมาร์กซ์มากซ์ที่กำลังศึกษาค้นคว้าเพื่อเขียนหนังสือเรื่อง "''[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]"'' ({{lang|de|''Das Kapital''}})
 
พ.ศ. 2407 เขาเป็นผู้แทนสันนิบาตคอมมิวนิสต์เข้าร่วมประชุมใหญ่ครั้งแรกของ[[สมาคมกรรมกรสากล]] (International Workingmen's Association) ซึ่งต่อมามีชื่อเป็นที่รู้จักกันว่า ''"องค์การคอมมิวนิสต์สากลที่ 1''" เขาได้รับเลือกเป็นกรรมการในคณะมนตรีทั่วไป
 
ในปลายปี พ.ศ. 2412 บิดาของเขาก็เสียชีวิต เขาจึงขายกิจการโรงงานสิ่งทอทั้งหมดและใน พ.ศ. 2413 ก็อพยพไปลอนดอนเพื่อใช้ชีวิตอิสระและเพื่อดูแลมาร์กซ์มากซ์ให้มีเวลาเขียนหนังสือเรื่อง "''ทุน"'' ให้สำเร็จ ภายหลังการมรณะกรรมมรณกรรมของมาร์กซ์มากซ์ ใน พ.ศ. 2426 เขาได้ใช้ชีวิตในบั้นปลายของเขาเกือบ 12 ปี ในการรวบรวมงานเขียนต่าง ๆ ของมาร์กซ์มากซ์มาเรียบเรียงโดยเฉพาะหนังสือเรื่อง ''ทุน'' เล่มที่ 2 และเล่มที่ 3 ซึ่งมากมากซ์ทำค้างไว้ออกเผยแพร่
 
== ผลงาน ==
นอกจากการรวบรวมงานของมาร์กซ์แล้วมากซ์แล้ว เองเอ็งเงิลส์เองก็มีงานค้นคว้าเรื่องสำคัญของเขาเองออกเผยแพร่หลายเล่ม งานเขียนที่เด่นเลื่องชื่อ เช่น
* ''Anti Duhring'' (พ.ศ. 2421)
* ''Ludwig Feuerbach and the End of Classical German Philosophy'' (พ.ศ. 2427)
ผลงานสองเล่มนี้ [[วลาดีมีร์ เลนิน]] ผู้นำ[[พรรคบอลเชวิค]] กล่าวยกย่องว่ามีความสำคัญระดับเดียวกับ "''แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์"''
* ''The Origin of the Family, Private Property and the State'' (พ.ศ. 2427)
* ''Socialism: Utopian and Scientific'' (พ.ศ. 2435)
และงานค้นคว้าชิ้นสุดท้ายที่ไม่เสร็จสมบูรณ์คือ ''Dialectic of Nature'' ซึ่งต่อมาจัดพิมพืเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2468
 
1 ปีหลังจากหนังสือ "''ทุน"'' เล่มที่ 3 ออกเผยแพร่ เขาก็ถึงแก่กรรมในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2438 ขณะอายุ 75 ปี
 
== อ้างอิง ==
* สัญชัย สุวังบุตร. ''สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม E-F.''
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 58:
* [http://simplycharly.com/marx/tristram_hunt_marx_interview.htm The Brave New World: Tristram Hunt On Marx and Engels' Revolutionary Vision]
* [http://www.dhm.de/lemo/html/biografien/EngelsFriedrich/index.html German Biography from dhm.de]
==== ผลงานของเองเอ็งเงิลส์ ====
* [http://www.marxists.org/archive/marx/index.htm The Marx & Engels Internet Archive] ที่ [[Marxists.org]]
* [http://www.mlwerke.de/me/ Marx and Engels in their native German language]
* {{gutenberg author|id=Friedrich_Engels|name=Friedrich Engels}}
* [http://libcom.org/library/taxonomy/term/93 Libcom.org/library Frederick Engels archive]
* [http://www.zeno.org/Philosophie/M/Engels,%20Friedrich ผลงานโดยฟรีดริช เองเอ็งเงิลส์] (ในเยอรมนี) ที่ [[Zeno.org]]
* [http://www.pathfinderpress.com/s.nl/sc.8/category.100/.f Pathfinder Press]
* Friedrich Engels, “[http://www.ringmar.net/joomla/index.php?option=com_content&view=article&id=814:engels-qof-rifled-cannonq-1860&catid=98:wonders-of-technology&Itemid=142 On Rifled Cannon]," articles from the New York ''Tribune'', April, May and June, 1860, reprinted in ''Military Affairs'' 21, no. 4 (Winter 1957) ed. Morton Borden, 193-198.