ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่าจื๊อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:444F:360F:4167:7923:C363:7724 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
เพิ่มเติมเนื้อหา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
 
'''เล่าจื๊อ''' ({{Zh-all|老子|p=Lǎo zǐ}}; {{lang-en|Lao Zi หรือ Lao Tzu}}) [[นักปรัชญา]]ชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500 ปี [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมือง[[ยุคชุนชิว]] เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "[[เต้าเต๋อจิง|เต๋าเต็กเก็ง]]" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทาง[[ลัทธิเต๋า]]ที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทาง[[เต๋า]] [[ประวัติศาสตร์]] [[ภูมิศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]]
 
'''ชีวประวัติบรมครูเล่าจื้อ'''
 
ประวัติของเหลาจื่อตามจดหมายเหตุ “สื่อจี้” (史记)ระบุว่า เหลาจื่อแซ่ “หลี่” (李)ชื่อ “เอ๋อร์” (耳) มีชีวิตอยู่ช่วงตอนกลางของราชวงศ์โจว (周朝) เป็นชาวแคว้นเฉิน เกิดเมื่อ 551 ปีก่อน ค.ศ. พออายุ 27 ปีท่านบรมครูเล่าจื้อสำเร็จมรรคเต๋า ผมสีดำเปลื่ยนเป็นสีขาว และได้สร้างโรงเรียนเปิดสอนหลักแห่งเต๋า หรือธรรมชาติ หลักธรรมคำสอนเรียบง่าย เช่น การทำความดี ถ้ามิทำเพื่อตนเอง ก็ควรทำเพื่อคนอื่น แล้วผลดีก็จะกลับมาสู่ผู้กระทำความดี บรมครูเล่าจื้อ ท่านมีศิษย์ 2 คน คือ หม่าถง และถงซิง เล่าจื้อนั้นเกิดที่แคว้นเฉิน ต่อมาถูกแคว้นฉู่รุกรานครอบครองแคว้นเฉินนอยู่ในมณฑลเหอหนาน(河南)) ทำหน้าที่ดูแลหอพระสมุดหลวงแห่งราชสำนักโจว ต่อมาราชสำนักเสื่อมโทรม จึงออกแสวงหาความวิเวก จดหมายเหตุ “จฺว่อจ้วน”(左传)
 
ขี่ควายมุ่งสู่ทะเลทรายไปยังชมพูทวีป ระหว่างทางผ่านด่านหานกู่ "อิ๋นสี่" อดีตเสนาบดีแห่งแคว้นโจว ได้อาสาเทียนจื่อ แห่งค้าโจว มาเป็นขุนนางดูแลด่านหานกู่ เพื่อป้องกันแคว้นฉินรุกราน เนื่องจากได้ยินชื่อเสียงของท่านมานานจึงต้อนรับท่านด้วยมิตรจิตมิตรใจอันอบอุ่น ก่อนจากไป อิ๋นสี่พูดกับท่านว่า "ท่านจะไปแล้ว โปรดเขียนหนังสือสักเล่มให้เราเถิด" ครั้นแล้ว ท่านเหลาจื่อจึงเขียนหนังสือไว้ 1 เล่ม
 
'''คำสอนของเล่าจื้อ'''
 
立而不改 มีวิธีทางนำไปสู่เต๋า และเต๋ายืนยงและยืนโดยมิเปลี่ยนแปลง
 
可以為天地 เต๋า 大 ยิ่งใหญ่เหนือกว่าทั้งโลกและสวรรค์
 
'''คำสอนของเล่าจื้อ แผ่นที่ 3'''
 
มูลเหตุแห่งทุกข์ อันได้แก่ การแก่งแย่ง การลักขโมย การยึดถือตัวตน ความอยาก
 
เมื่อขจัดมูลเหตุแห่งทุกข์ดังมักกล่าวได้
 
ดวงใจประชาก็จะบริสุทธิ์
 
เมื่อมีผู้ปกครองที่เป็นปราชญ์ จะหาหนทางทำให้ประชาชน อิ่มท้อง มีความพอดี ลดความอยากที่ฟุ่มเฟือย ส่งเสริมสุขภาพกาย ความคิด ความปรารถนา และจิตใจของชาวประชา ให้จิตใจว่างจากความมูลเหตุแห่งทุกข์ ทำจิตใจให้สะอาดและบริสุทธิ์
 
คนฉ้อฉลก็จะกลัวเกรงและละอาย มิกล้าทุจริต
 
นี่คือการปกครองโดยมิต้องปกครอง เมื่อนักปกครองที่เป็นปราชญ์ดำเนินตามนี้แล้ว  การปกครองก็จะดำเนินไปอย่างมีระเบียบ เรียกว่า การปกครองโดยมิต้องมีการปกครอง
 
== ประวัติ ==