ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มูลนิธิกระจกเงา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Karan intakool (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนอ้างอิง
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 27:
เมื่อได้สร้างนักกิจกรรม นวัตกรรมทางสังคมขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงสังคมซึ่งเป็นเป้าหมายที่แท้จริงของการทำงาน ก็จะเริ่มขึ้น นักกิจกรรมที่ได้รับการปรับจูนความคิดที่มุ่งมั่นในการแกปัญหาสังคมร่วมกัน ก็จะเป็นฟันเฟืองที่ขับเคลื่อนสังคมด้วยนวัตกรรมที่หมุนวงล้อของสังคมสู่การ พัฒนาต่อไป เรา จึงให้ความสำคัญกับการรณรงค์และลงมือ จัดการปัญหาต่างๆ
 
== ประวัติความเป็นมา ==
มูลนิธิกระจกเงา เริ่มต้นจากการรวมตัวทำกิจกรรมของคนหนุ่มสาวจำนวน 5 คน ในปลายปี 2534 ซึ่งประกอบด้วยนักกิจกรรมในรั้วและนอกรั้วมหาวิทยาลัย ได้รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมต่อเนื่อง  โดยในขณะนั้นใช้ชื่อกลุ่มว่า "กลุ่มศิลปวัฒนธรรมกระจกเงา ได้ขอเข้าอยู่เป็นโครงการภายใต้มูลนิธิโกมลคีมทอง" ในปี 2535 และได้จดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิกระจกเงา ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.  2547 โดยมูลนิธิกระจกเงาเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำหน้าที่เป็นเงาในการสะท้อนปัญหาเพื่อร่วมพัฒนาสังคมในหลายด้าน ได้แก่ งานด้านสิทธิมนุษยชน งานด้านสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ งานพัฒนาอาสาสมัคร และการแบ่งปันทรัพยากร เพื่อเพิ่มศักยภาพใน การเรียนรู้และการใช้ชีวิต โดยมีพื้นที่ปฏิบัติงานทั้งบนสังคมออนไลน์ (internet) สังคมเมืองและสังคมชนบท
 
ในปี พ.ศ. 2540 ได้มีการย้ายที่ทำการจากกรุงเทพไปจังหวัดเชียงรายและเริ่มต้นการทำงานพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง อันเป็นที่มาของการทำงานด้านการพัฒนาชนบทขององค์กร
 
'''มูลนิธิกระจกเงา สำนักงานเชียงราย''' ({{lang-en|The Mirror Foundation}}) เป็น[[องค์การพัฒนาเอกชน]] ซึ่งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทยในตำบลแม่ยาวของ[[จังหวัดเชียงราย]] โดยจุดมุ่งหมายขององค์กรคือการช่วย[[ชาวเขา (ประเทศไทย)|ชาวเขา]]รอบๆ พื้นที่ ที่มีปัญหาอย่างเช่น ด้านสัญชาติ, ยาเสพติด, การกัดกร่อนทางวัฒนธรรม รวมถึงการค้ามนุษย์ของเด็กและสตรีผ่านทางหลายโครงการ มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการมากว่า 15 ปีในการส่งเสริมสิทธิของชาวเขากับเว็บไซต์ บ้านนอก.คอม โดยได้มีการรับอาสาสมัครในท้องถิ่นและเงินบริจาคเพื่อออกเดินทางไปช่วยเหลือที่หมู่บ้านของชาวเขา
บรรทัด 36:
องค์การกับเว็บไซต์นี้ เป็นหนึ่งในส่วนที่ได้รับความสนใจมากที่สุดในประเทศไทย ตามหนังสือ ''Empowering Marginal Communities with Information Networking'' ในปี พ.ศ. 2549 โดยมีการกล่าวถึงตัวอย่างของการใช้อินเทอร์เน็ตที่มีศักยภาพสำหรับการ "ส่งเสริมบุคคลชาวพื้นเมืองให้สามารถเข้าถึงเวทีทางการเมือง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับบุคคลชาวพื้นเมืองซึ่งเป็นปัญหาในระดับชาติ"<ref name="Empowering">{{cite book|first=Hakikur|last=Rahman|title=Empowering Marginal Communities with Information Networking|publisher=Idea Group Inc|year=2006|isbn=1591406994|url=http://books.google.com/books?id=RLdtjVz370EC&pg=PA138&dq=%22The+Mirror+Art+Group%22&client=firefox-a|page=138}}</ref> พ.ศ. 2544 หนังสือ ''Towards Financial Self-reliance: A Handbook on Resource Mobilization for Civil Society Organizations in the South'' ได้นำเสนอองค์กรนี้เป็นกรณีศึกษาในการระดมทรัพยากรสำหรับการพัฒนาชุมชนผ่านทางอินเทอร์เน็ต<ref>{{cite book|last=Holloway|first=Richard|title=Towards Financial Self-reliance: A Handbook on Resource Mobilization for Civil Society Organizations in the South|publisher=Earthscan|year=2001|isbn=1853837733|page=147|url=http://books.google.com/books?id=5OykBupN3DgC&pg=PA147&dq=%22Mirror+Arts+Group%22#PPA147,M1}}</ref>
 
ปี พ.ศ. 2546 ได้เปิดสำนักงานเพิ่มอีกแห่งที่กรุงเทพ
 
ปัจจุบันโครงการที่เป็นที่รู้จักของมูลนิธิกระจกเงาได้แก่ ศูนย์ข้อมูลคนหาย, ครูบ้านนอก, โครงการแบ่งปันเพื่อการเปลี่ยนแปลง, โครงการผู้ป่วยข้างถนน ฯลฯ
บรรทัด 49:
 
=== '''ครูบ้านนอก''' ===
'''“กระดานดำคือผืนป่า ตำราคือผืนดอย”''' มูลนิธิกระจกเงา  สนง.เชียงราย เปิดรับอาสาสมัคร เข้าร่วมโครงการครูบ้านนอก รุ่นแรก ในปี พ.ศ. 2541   โดยมุ่งหวังที่จะนำครูอาสาลงพื้นที่ชาวบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหมู่บ้านในพื้นที่ห่างไกล เด็กส่วนใหญ่ขาดโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะเด็กบนพื้นที่ราบสูง และตามตะเข็บชายแดน เริ่มต้นจาก พื้นที่ในจังหวัดเชียงราย แนวคิดของการเป็นครูบ้านนอก มิเพียงแต่เป็นการอุทิศตนในช่วงเวลาระยะสั้น เพื่อเป็นอาสาสมัครสอนเด็กเท่านั้น เพราะในระหว่างที่ครูสอนให้เรียนรู้วิชาการในห้องเรียน เด็กจะทำหน้าที่แบ่งปันความรู้ความแตกต่างทางวิถีชีวิต และวัฒนธรรมให้กับครูอีกด้วย ถือเป็นการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน เกิดเป็นเข้าใจ ในวิถีวัฒนธรรมที่แตกต่างและอยู่ร่วมกันได้ในสังคม
 
=== '''นักศึกษาฝึกงาน''' ===
บรรทัด 99:
 
==== '''โครงการสวนครูองุ่น''' ====
สวนสาธารณะและพื้นที่กิจกรรม มีลักษณะเป็นสวนเด็ก กลุ่มเป้าหมายหลักที่เข้ามาใช้งานได้แก่ เด็ก ผู้ปกครอง รวมไปถึงบุคคลทั่วไป ซึ่งสวนสาธารณะเป็นการปรับปรุงและฟื้นฟูสร้างพื้นที่ส่วนใหญ่ให้เป็นพื้นที่สีเขียว มีความเป็นธรรมชาติ เพื่อให้ผู้คนในชุมชนที่ผ่านไปมาสามารถ มานั่งเล่นหรือพาบุตรหลานมาใช้ประโยชน์ และมีพื้นที่กิจกรรม ที่เปิดให้เป็นเวที สําหรับการทําสำหรับการทำกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
 
=== โครงการในอดีต ===
บรรทัด 127:
 
=== '''เหตุการณ์มหาพิบัติภัย “สึนามิ”''' ===
ก่อตั้งศูนย์ประสานงานอาสาสมัครสึนามิ  Tsunami Volunteer Center ที่เขาหลัก จ.พังงา เมื่อปลายปี พ.ศ. 2547  เพื่อทำการช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยตลอด 3 ปีของการดำเนินการได้มีอาสาสมัครจากทุกมุมโลกร่วมปฏิบัติการครั้งนี้มากกว่า 5.000 คน และได้ทำการสร้างบ้านพัก เรือประมง กองทุนส่งเสริมอาชีพ กิจกรรมด้านการศึกษาให้แก่ลูกหลานผู้ประสบภัย  นับเป็นโครงการแรกของมูลนิธิกระจกเงา ที่ได้ร่วมประสบการณ์ในงานด้านภัยพิบัติ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการทำงานด้านนี้ ในโอกาสต่อมา
 
=== '''น้ำท่วมโคลนถล่ม ลับแล จ.อุตรดิตถ์''' ===
ก่อตั้ง อาสาลับแล หลังเหตุการณ์โคลนถล่มครั้งใหญ่ ปี พ.ศ. 2549 ที่ ต.แม่พูล อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ โดยอาสาสมัครกลุ่มแรกเป็นผู้ประสบภัยจากพื้นที่สึนามิที่มาช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้วยกัน ต่อมาได้เปิดรับอาสาสมัคร ทั่วประเทศกว่า 3,000 คนในภาระกิจขุดโคลนออกจากบ้านผู้ประสบภัยนับร้อยหลัง
 
=== '''มหาวาตภัย น้ำท่วมใหญ่ปี 2554''' ===
บรรทัด 137:
== ผลงาน/รางวัล ==
 
* 2541: รางวัลสำหรับการแสดงความยินดีเนื่องจาก โครงการระดมทรัพยากรและสร้างฐานชุมชนบนอินเตอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต ได้รับทุนริเริ่มสร้างฐานชุมชนอย่างต่อเนื่องจากปี2541
* จากองค์การอโซก้า
* 12 ธันวาคม2542 : รางวัลสำหรับการสนับสนุนการผลิตข่าวโทรทัศน์โดยเด็กและเยาวชน ในการจัดงานวันทีวีวิทยุเพื่อ เด็กโลก ประจำปี 2542
บรรทัด 163:
* 2557 : รางวัล  ‘’ประชาบดี” ประจำปี 2557   www.mirror.or.th สื่อที่นำเสนอกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ผู้อยู่ในภาวะยากลำบาก จาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
* 2 พฤษภาคม 2557 : รางวัลสำหรับการให้ความอนุเคราะห์ในการจัด  “ โครงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและชุมชน(CSR) ”
* จาก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กลุามกลุมเงินทุนหมุนเวียนยาเสพติด
* 13 ตุลาคม 2557:  รางวัล ผู้สนับสนุนด้านสวัสดิการ และสงเคราะห์ผู้ต้องขัง จาก กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม
* 31 ตุลาคม 2558 รางวัล คนดีของสังคม ด้านการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม จาก  มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ