ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
| post = สมเด็จพระสังฆราช<br>สกลมหาสังฆปริณายก<br>แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
| insignia = ฉัตรสามชั้น.jpg
| insigniasize = 80px
| insigniacaption = พระเศวตฉัตร 3 ชั้น ประจำองค์สมเด็จพระสังฆราช
| flag =
| image = ไฟล์:สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อัมพโรอมฺพโร).jpg
| imagesize = 150px200px
| incumbent = [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)]]
| incumbentsince = 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
| style = ใต้ฝ่าพระบาท
| residence = [[พระอารามหลวง]]
| appointer = [[พระมหากษัตริย์ไทย]]
บรรทัด 15:
| formation = พ.ศ. 2325
| succession =
| salary =
| salary =34,200 บาท<ref>{{cite web|title=บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป|url=http://pkt.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=148&Itemid=132|publisher=สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต|date=27 เมษายน 2555|accessdate=15 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
| inaugural = [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)|สมเด็จพระอริยวงษญาณ (ศรี)]]
| website =
}}
ในประเทศไทย '''สมเด็จพระ[[สังฆราช]]''' คือประมุขแห่งคณะสงฆ์ ซึ่งตามกฎหมายคณะสงฆ์บัญญัติให้ทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 1,167</ref>
 
ที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมเด็จพระสังฆราชเป็นไปตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505<ref>[http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538973928&Ntype=19 พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕]</ref>
 
เส้น 33 ⟶ 34:
 
พระสงฆ์ฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสีนี้มีมาแต่ครั้งพุทธกาล คือฝ่ายที่พำนักอยู่ใกล้เมืองเพื่อศึกษา[[พระธรรมวินัย]] เรียกว่าคามวาสี อีกฝ่ายหนึ่งบำเพ็ญสมณธรรมในที่สงบเงียบตามป่าเขา ห่างไกลจากบ้านเมืองเรียกว่าอรัญวาสี [[ภิกษุ]] แต่ละฝ่ายยังแบ่งออกเป็นคณะ แต่ละคณะจะมี[[พระราชาคณะ]]ปกครอง หัวหน้าพระราชาคณะเรียกว่า[[สมเด็จพระราชาคณะ]]
 
{{บทความหลักดูเพิ่มที่|รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์}}
 
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเปลี่ยนพระอิสริยยศสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เป็น '''[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า]]'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/A/10.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า], เล่ม ๓๘, ตอน ๐ ก ,๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๐ </ref> ทรงเศวตฉัตร 5 ชั้น พระราชวงศ์ชั้นรองลงมา เท่าที่ปรากฏ มีชั้นหม่อมเจ้าผู้ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช มีคำนำหน้า พระนามว่า '''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า''' ทรงฉัตรตาดเหลือง 5 ชั้น
เส้น 44 ⟶ 47:
|พระนาม = <small>สมเด็จพระสังฆราช<br>แห่งกรุงรัตนโกสินทร์</small>
|ธงประจำพระองค์ =
|การทูล = ใต้ฝ่าพระบาท
|การแทนตน = เกล้ากระหม่อม/เกล้ากระหม่อมฉัน
|การขานรับ = เกล้ากระหม่อม<br>พะย่ะค่ะ/เพคะ
เส้น 73 ⟶ 76:
เมื่อสิ้นพระชนม์จะทรงได้รับเครื่องประกอบพระอิสริยยศ ได้แก่
* พระโกศกุดั่นน้อย (หรือ มากกว่า)
* พระเศวตฉัตร 3 ชั้นกางกั้นพระโกศ (หรือมากกว่า)
* เสด็จสรงน้ำพระศพ
* รับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมราชทานเพลิงพระศพ 100 วัน
* พระสงฆ์รับพระราชทานฉันเช้า-เพล 100 วัน
* ริ้วกระบวนพระอิสริยยศเชิญพระโกศพระศพไปยังพระเมรุ
* พระเมรุผ้าขาว สำหรับพระราชทานเพลิงพระศพ (ปัจจุบันใช้พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส)
* เสด็จพระราชทานเพลิงพระศพ บำเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุ ตลอดจนฉลองพระอัฐิ
* เศวตฉัตร 3 ชั้นสุมพระอัฐิบนพระเมรุ (หรือมากกว่า)
* เครื่องประโคมสังข์ แตรงอน แตรฝรั่ง กลองชนะ จ่าปี่ จ่ากลอง
 
[[ไฟล์:Phra Kot Kudan Yai for Somdej Phra Yannasangwon (3)พระโกศพระศพพระสังฆราช.jpg|500px|center|thumb|พระโกศกุดั่นใหญ่ประกอบพระอิสริยยศพระศพ[[สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]]]]
 
== การวางรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ของไทย ==
== รายพระนาม ==
แบบแผนการปกครองคณะสงฆ์ของไทย เริ่มจัดวางหลักตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย มีการพัฒนาเพิ่มเติมใน สมัยกรุงศรีอยุธยาและต่อมาในสมัย[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ก็ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อยมาตามลำดับ จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] การปกครองคณะสงฆ์ก็ยังจัดโดยมีตำแหน่งเปรียบเทียบดังนี้
{{บทความหลัก|รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์}}
* '''สกลมหาสังฆปริณายก ''' ได้แก่ สมเด็จพระสังฆราช
* '''มหาสังฆนายก ''' ได้แก่ [[เจ้าคณะใหญ่]]
* '''สังฆนายก''' ได้แก่ เจ้าคณะรอง
* '''มหาสังฆปาโมกข์''' ได้แก่ เจ้าคณะมณฑล
* '''สังฆปาโมกข์''' ได้แก่ [[เจ้าคณะจังหวัด]]ที่เป็นพระราชาคณะ
* '''สังฆวาห''' ได้แก่ เจ้าคณะจังหวัดที่เป็นพระครู
 
== อ้างอิง ==
เส้น 102 ⟶ 106:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikisource|1=ลักษณะการปกครองประเทศไทยแต่โบราณ|2=การปกครองคณะสงฆ์ไทยแต่โบราณ|3=โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ}}
 
 
{{สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{สมณศักดิ์พระสงฆ์ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์| ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]