ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพ่อเนียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:หลวงพ่อเนียม_2013-08-28_18-28.jpg|thumbnail|หลวงพ่อเนียม]]
 
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
| ชื่อ = เนียม
| ชื่อภาพ = [[ไฟล์:หลวงพ่อเนียม_2013-08-28_18-28.jpg|250px]]
| ฉายา = ธมฺมโชติ
| ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
| สมณศักดิ์ =
| วันเกิด = [[พ.ศ. 2372]]
| วันบวชเณร =
| วันบวช = [[พ.ศ. 2390]]
| วันตาย = [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]]2452
| พรรษา = 60
| อายุ = 80
เส้น 17 ⟶ 15:
| สังกัด = มหานิกาย
| วุฒิ =
| ตำแหน่ง = พระอธิการ , อุปัชฌาย์เจ้าอาวาส
| รางวัล =
}}
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ([[พ.ศ. 2372]] - [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2452]]) ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง[[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นที่นับถือโดยทั่วไปในด้านปาฏิหาริย์ พระพุทธคุณของท่านมากมายยิ่งนักทั้งในด้านเมตตา มหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด เป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน แม้แต่สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสเทโว) วัดสุทัศน์เทพวราราม หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อทับ วัดทอง ยังมีความเคารพนับถือ และมีพระเครื่องของหลวงพ่อเนียมในครอบครอง
 
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ([[พ.ศ. 2372]] — [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2452]]) ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง[[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นที่นับถือโดยทั่วไปในด้านปาฏิหาริย์ พระพุทธคุณของท่านมากมายยิ่งนักทั้งในด้านเมตตา มหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด เป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน แม้แต่สมเด็จพระสังฆราช(แพ ติสเทโว) วัดสุทัศน์เทพวราราม หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อทับ วัดทอง ยังมีความเคารพนับถือ และมีพระเครื่องของหลวงพ่อเนียมในครอบครอง
 
== ประวัติ ==
 
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ชาติภูมิชาว[[สุพรรณบุรี]] บิดาเป็นชาวบ้านซ่อง ต.มดแดง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ไม่ทราบชื่อ ส่วนมารดาเป็นชาวบ้านป่าพฤกษ์ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ชื่อว่า เนื่อง หลวงพ่อเนียมมีพี่น้องร่วมอุทรเดียวกันหลายคน แต่ไม่ทราบชื่อ ทราบเพียงว่าหนึ่งในนั้นมีพี่สาวชื่อว่า จาด
 
หลวงพ่อเนียมท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2370]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ บ้านป่าพฤกษ์ ต.ตะค่า อ.บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาท่านบรรพชาเป็นสามเณร กระทั่งอายุครบเกณฑ์อุปสมบท จึงอุปสมบท (สันนิษฐานว่าเป็นวัดป่าพฤกษ์ อันเป็นวัดบ้านเกิดใกล้บ้านท่าน ) ภายหลังได้ศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร (ดังปรากฏหลักฐานนามท่านในบัญชีรายนามพระภิกษุที่จำวัดมหาธาตุฯ) และสันนิษฐานกันว่าท่านเคยไปพำนักจำพรรษา ศึกษาวิชาความรู้จากวัดระฆังโฆษิตาราม ในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมฺรังษี) อีกด้วย กระทั่งเมื่อมีอายุประมาณ40ปีจึงเดินทางกลับบ้านเกิดจำพรรษาอยู่วัดรอเจริญ เกิดขัดกับเจ้าอาวาส สุดท้ายจึงย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดน้อย บูรณปฏิสังขรณ์วัดน้อยจากวัดร้าง ให้เป็นวัดที่เจริญขึ้นมาใหม่
 
หลวงพ่อเนียมมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ ท่านช่วยให้การศึกษาแก่ศิษยานุศิษย์อย่างเต็มที่ ท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ การถ่ายรูปท่านว่ากันว่าถ่ายไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เองโดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่านมีเรื่องเล่าในกฤษดาภินิหารต่างๆ ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้วนั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาตโปรดญาติโยม กลับมาฉันภัตตาหาร แล้วจะนำอาหารไปเลี้ยงสัตว์ต่างๆที่เข้ามาพึ่งพาอาศัยวัด
 
ท่านมรณภาพในลักษณะคล้ายพระพุทธรูปปางไสยาสน์นับเป็นพระสงฆ์องค์แรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2450]] ตรงกับปลายรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริอายุได้ 80 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 60 พรรษาโดยที่มีพระหลวงปู่บุญวัดกลางบางแก้วสมัยคุมมณฑลนครชัยศรี และ พระสังฆราช แพ สมัยท่านดำรงตำแหน่งพระธรรมโกศาจารย์เจ้าคณะมณฑลนครชัยศรี มาในงานประชุมเพลิงด้วย
 
 
ในด้านพระเครื่องนั้นเป็นที่โดงดังทั้วสารทิศ เป็นที่รู้จักทั้งในและนอกวงการพระเครื่อง ว่ามีคุณวิเศษมากมายในด้านแคล้วคลาด คงกระพันและเมตตามหานิยม โดยการสร้างพระในสมัยก่อนการทำปรอทให้แข็งไม่ใช่ของง่ายนัก ว่ากันว่าต้องใช้คาถาอาคม ทั้งต้องทำในฤดูฝนฤดูเดียวเท่านั้น เพราะพืชบางอย่าง เช่น ใบแตงหนู ซึ่งขึ้นในท้องนา จะขึ้นในฤดูฝน ส่วนผสมต่างๆ มีใบสลอด, ข้าวสุกหลวงพ่อท่านเอาของสามอย่างมาโขลกปนกันเพื่อไล่ขี้ปรอทออกให้หมด ทั้งนี้เพื่อให้ได้ปรอทขาวที่สุด การโขลกจะต้องโขลกและกวนอยู่ถึง ๗ วัน จึงจะเข้ากัน พอครบ ๗ วันเอาไปตากแดดเสร็จแล้วนำเอาไปกวนต่อจนเข้ากันดี จึงทำการแยกชั่งเป็นส่วนๆ ส่วนละหนึ่งบาทต่อจากนั้นเอาไปใส่ครกหิน เติมกำมะถันและจุนสีโขลกตำให้เข้ากัน โดยใช้เวลาทำตอนกลางคืนเท่านั้น ทำเช่นนั้นอยู่ ๓ คืนจึงเอาปรอทใส่ลงไปในกระปุกเหล้าเกาเหลียง ผสมกับตะกั่วเอาเข้าไฟสุมอยู่ถึง ๗ วัน บางครั้งอุณหภูมิ สูงจัด กระปุกเหล้าเกาเหลียงแตกเสียหายก็มี การสุมไฟสุมเฉพาะเวลากลางวัน ส่วนเวลากลางคืนทำพิธีปลุกเสกด้วยคาถาอาคม พอครบ ๗ ไฟเทลงในแม่พิมพ์จึงจะได้พระตามที่ต้องการ
เส้น 46 ⟶ 41:
8.ปรุหนัง
9.ลูกสะกด+ตะกรุด
 
== สหธรรมิก ==
 
* [[หลวงพ่อแก้ว วัดพร้าว]]
* [[หลวงพ่อแก้ว วัดสวนหงส์]]
* [[หลวงพ่อแสง วัดตะค่า]]
* [[หลวงปู่บุญวัดกลางบางแก้ว]]
* [[หลวงพ่อครุฑ วัดขวาง]]
* [[หลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส (คลองด่าน)]]
* [[หลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก]]
 
== ลูกศิษย์ ==
 
* [[หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน]]
* [[หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค]]
* [[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (หม่อมราชวงศ์ เจริญ อิศรางกูร ณ อยุธยา) วัดระฆังโฆษิตาราม]]
* [[พระธรรมถาวร (ช่วง จันทโชติ) วัดระฆังโฆษิตาราม]]
* [[หลวงพ่อจอน วัดน้อย]]
* [[หลวงพ่ออั้น พรหมฺสโร วัดน้อย]]
* [[หลวงพ่ออ่ำ ชินปุตโต วัดชีปะขาว]]
* [[หลวงพ่อโต วัดขวาง]]
* [[หลวงพ่อหรุ่น หรหมฺสโร วัดเสาธงทอง]]
* [[หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ วัดท่าซุง]]
 
== อ้างอิง ==
 
* หนังสือหลวงพ่อเนียม วัดน้อย (จัดทำโดย วัดน้อย อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี)
* หนังสือตำนานพระเกจิ เล่มที่ 2
เส้น 78 ⟶ 49:
* [http://www.watpaipunmur.com/index.php?topic=267.30 ประวัติหลวงพ่อเนียม วัดน้อย]
* หนังสือสารบาญแห่งวัดน้อย สุพรรณบุรี และ สารบาญแห่งวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
 
{{เกิดปี|2370}}
{{เรียงลำดับ|นียม}}
{{เสียชีวิตปี|2450}}
{{อายุขัย|2372|2452}}
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุพรรณบุรี‎‎]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวไทย|นในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]