ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โปรเตสแตนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 3:
'''นิกายโปรเตสแตนต์''' ({{lang-en|Protestantism}}) เป็น[[นิกายในศาสนาคริสต์|นิกาย]]หนึ่งใน[[ศาสนาคริสต์]] ใช้หมายถึง[[คริสต์ศาสนิกชน]]ใด ๆ ที่ไม่ใช่[[โรมันคาทอลิก]]และ[[ออร์ทอดอกซ์]] โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่[[ประเทศเยอรมนี]]ช่วงต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับ[[ความรอด]] [[การทำให้ชอบธรรม]] และ[[คริสตจักรวิทยา]] โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัย[[พระคุณ]]จากพระเจ้าผ่านทาง[[ศรัทธา (ศาสนาคริสต์)|ความเชื่อ]]เท่านั้น (เรียกว่าหลัก[[โซลากราเซีย]]และ[[โซลาฟีเด]]) เชื่อว่า[[ผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต]] และ[[คัมภีร์ไบเบิล]]มีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและ[[ศีลธรรม]] (เรียกว่าหลัก[[โซลาสกริปตูรา]])
 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของ[[มาร์ติน ลูเทอร์]] ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วน[[คริสตจักรปฏิรูป]]ใน[[ประเทศฮังการี]] [[สวิตเซอร์แลนด์]] [[สกอตแลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]] ตั้งขึ้นโดย[[ฌ็อง กาลแว็ง]] และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น [[ฮุลดริช สวิงลีซวิงลี]] นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้ง[[คริสตจักรปฏิรูปในฮังการี]]ขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดย[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]] และยังมี[[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์|ขบวนการปฏิรูปศาสนา]]อีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่ว[[ยุโรปภาคพื้นทวีป]] เช่น [[การปฏิรูปแบบรุนแรง]] ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่ม[[อนาแบ๊บติสต์]] โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น ๆ
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 19:
ลูเทอร์ได้เริ่มวิพากษ์วิจารณ์ และเรียกประชุมผู้รู้ทั้งหลายมาปรึกษา โต้เถียงกับบัญญัติใหม่
 
จนเดือนตุลาคม ค.ศ. 1517 ลูเทอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า ''”ญัตติ 95 เรื่อง”'' (The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิทเทนแบร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบไถ่บาปของสมเด็จพระสันตะปาปา และการกระทำที่เหลวแหลกอื่น ๆ ความคิดของลูเทอร์ได้รับการสนับสนุนจากมหาชนเยอรมันเป็นจำนวนมาก แล้วแพร่หลายออกไปทั่ว[[ทวีปโรป]]ยุโรป
 
การเคลื่อนไหวดังกล่าวทำให้สมเด็จพระสันตะปาปาและฝ่ายมุขนายกไม่พอใจ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1520 ลูเทอร์ได้รับหมาย[[การตัดขาดจากศาสนา|ขับออกจากศาสนจักร]] (Excommunication) ทำให้ลูเทอร์ต้องออกจากเขตปกครองของจักรพรรดิ ไปหลบที่วอร์มส์พร้อมกับผู้ติดตามอีกจำนวนหนึ่ง ที่นั่นท่านได้แปลพันธสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน และได้เขียนงานเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งมิสซาและ[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]] (Sacraments) ซึ่งลูเทอร์ตั้งใจที่จะให้ชาวบ้านซึ่งไม่เข้าใจภาษาละติน สามารถเข้าถึงหลักคำสอนและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่าง ๆ ได้
บรรทัด 39:
โดยข้อคิดทั้งหมดนี้ถือเป็นหลักของ ”[[กลุ่มคริสตจักรปฏิรูป]]” (Reformed Church) ซึ่งประกาศเป็นทางการในปี [[ค.ศ. 1530]] ณ การประชุมที่[[เอาก์สบูร์ก]] (The Diet of Augsburg) ที่แบ่งแยกผู้ติดตามลูเทอร์เป็นนิกายใหม่แยกจากคริสตจักรที่โรม เอกสารรวมความเชื่อนี้เรียกว่าเอกสาร ''”การสารภาพแห่งเมืองเอาก์สบูร์ก”'' (The Confession of Augsburg) ซึ่งเรียกรวมขบวนการปฏิรูปศาสนาที่แยกตัวจากโรมนี้เรียกว่า พวกโปรเตสแตนต์ (The Protestants)
 
หลังจากการประท้วงดังกล่าวได้ทำให้เกิดคลื่นกระแสการปฏิรูปศาสนาในยุโรปขยายออกไป เริ่มจากในเยอรมนีโดยลูเทอร์ ไป[[ประเทศสวิสเซอร์แลนด์|สวิสเซอร์แลนด์]]โดย[[อูลริคฮุลดริช สวิงกลิซวิงลี]] (Ulrich Zwingli ค.ศ. 1484-1531), ใน[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]โดย[[จอห์น คาลวิน]] (John Calvin ค.ศ. 1509-1564) และกลายเป็น[[ลัทธิคาลวิน]] (Calvinism) ซึ่งแพร่หลายอย่างรวดเร็วไปยัง[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]] [[ประเทศเบลเยียม|เบลเยียม]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[สกอตแลนด์]] และ[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] ใน[[ประเทศอังกฤษ]] พระเจ้าเฮนรีที่ 8 (ค.ศ. 1509-1547) ซึ่งประสงค์จะหย่าจากพระมเหสีเพื่อจะอภิเษกสมรสกับคนใหม่ เพราะคนเดิมไม่สามารถมีพระโอรสเพื่อสืบราชบัลลังก์ แต่พระสันตะปาปาไม่อนุญาตให้หย่า อังกฤษจึงแยกจากโรมนับแต่นั้นโดยตั้งองค์การขึ้นมาใหม่เรียกว่า ”[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]” (Church of England) ซึ่งพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งประมุขเสียเอง ซึ่งนิกาย[[แองกลิคัน]]นี้ยังคงรักษาหลักสำคัญบางประการของคาทอลิกไว้เพียงแต่ไม่ยอมรับอำนาจการปกครองของสันตะปาปาเท่านั้น
 
== การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ ==
บรรทัด 70:
 
==== นิกายแบปทิสต์ ====
นิกาย[[แบปทิสต์]] (Baptist) เริ่มมาจาก กลุ่มหนึ่งของ[[พิวริตินพิวริตัน]]ในอังกฤษ ที่แยกตัวจากคริสตจักรแห่งอังกฤษ ต่อมาได้ขยายไปยังประเทศ[[เนเธอร์แลนด์]] และ[[สหรัฐอเมริกา]] เน้นว่าความรอดเป็นของส่วนบุคคล จึงควรให้บัพติศมาแก่ผู้ที่สามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้เท่านั้น ฉะนั้นจึงไม่เห็นด้วยกับการให้บัพติศมาแก่เด็ก เป็นแบบจุ่มทั้งตัวลงไป โดยอ้างจากรากภาษาเดิมของคำว่า แบ๊บติสต์ แปลว่า การฝังลงไป เป็นเครื่องหมายของการฝังชีวิตเก่าขึ้นจากน้ำ หรือ การเป็นขึ้นมาใหม่ กลุ่มนี้มีพระคัมภีร์เป็นมาตรฐานความเชื่อ และการดำเนินชีวิต ให้ความสำคัญด้านสัมพันธภาพสมาชิก
 
==== นิกายเพรสไบทีเรียน====
บรรทัด 83:
 
==== คณะเควกเกอร์ หรือสมาคมมิตรภาพ (Society of Friends) ====
คณะเควกเกอร์ (Quaker) เกิดในอังกฤษ โดย[[ยอร์ชจอร์จ ฟอกซ์]] (George Fox ค.ศ. 1624 - 1691) แต่แพร่หลายในอเมริกาโดย [[วิลเลี่ยม เพน]] (William Penn ค.ศ. 1644-1718) โดยเฉพาะใน[[รัฐเพนซิลเวเนีย]] ซึ่งเป็นดินแดนแห่งแรกที่เพนได้มาตั้งรกรากและทำการเผยแพร่ศาสนา นิกายนี้ต้องการรื้อฟื้นศาสนาคริสต์แบบดั้งเดิม จึงเน้นประสบการณ์ตรงในการเข้าถึงพระเจ้า โดยใช้แสงสว่างที่เกิดขึ้นภายใน (Inner Light)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{กลุ่มศาสนาที่สำคัญ}}