ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาละติน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| iso1 = la|iso2=lat|iso3=lat}}
 
'''ภาษาละติน''' ({{lang-en|Latin}}) เป็นภาษาโบราณใน[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุง[[โรม]] และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของ[[จักรวรรดิโรมัน]] ต่อมาภาษาลาตินละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาธอลิคคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาลาตินละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก
 
ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของ[[อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน|เจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน]] ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน
บรรทัด 21:
แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็น[[ภาษาสูญแล้ว]] แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้[[อักษรละติน]] (ที่พัฒนามาจาก[[อักษรกรีก]]) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก
 
== อิทธิพลของภาษาลาตินละติน ==
 
=== อิทธิพลทางวรรณคดี ===
{{see|วรรณกรรมภาษาละติน}}
[[File:Commentarii de Bello Gallico.jpg|thumb|upright=1.36|[[จูเลียส ซีซาร์]]'s ''บันทึกเหตุการณ์สงครามแกลลิค'' เป็นหนังสือภาษาละตินที่มีชื่อเสียงที่สุดเล่มหนึ่งในช่วงยุคทองของภาษาละติน เขียนขึ้นในสไตล์ที่ไม่ขัดเกลา และตรงไปตรงมาของการรายงานเหตุการณ์อย่างนักวารสาร และเป็นต้นแบบของการใช้ภาษาลาตินละตินในสาธารณรัฐโรมัน]]
งานเขียนของนักเขียนโบราณหลายร้อยคนในภาษาละติน มีหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันเป็นจำนวนมาก และถูกศึกษาในปัจจุบันทั้งในสาขานิรุกติศาสตร์ และวรรณคดีคลาสสิคคลาสสิก งานของพวกเขาถูกเผยแพร่ในรูปแบบของเอกสารหรือต้นฉบับตัวเขียน (manuscript) มาตั้งแต่ก่อนที่นวัตกรรมทางการพิมพ์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น
 
วรรณกรรมในภาษาลาตินละตินมีทั้งในรูปของ เรียงความ ประวัติศาสตร์ บทกวี บทละคร และงานเขียนอื่นๆ โดยเริ่มปรากฎตั้งแต่ราวศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสกาล และกลายมาเป็นภาษาวรรณกรรมหลักของโลกโรมันโบราณในอีกสองศตวรรษถัดมา ในขณะที่ชาวโรมันที่มีการศึกษาก็ยังอ่านและเขียนโดยใช้ภาษากรีกโบราณควบคู่กันไปด้วย (เช่น [[จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส|จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุ]]ส ผู้ทรงนิพนธ์งานปรัชญาเป็นภาษากรีก) อาจจะกล่าวได้ว่าวรรณคดีในภาษาลาตินละตินก็คือการสืบเนื่องของ[[วรรณกรรมกรีกโบราณ]] โดยชาวโรมันรับเอารูปแบบงานวรรณคดีของกรีซหลายอย่างมาใช้
 
เนื่องจากภาษาละตินเป็นภาษากลางในการสื่อสารของยุโรปตะวันตกจนกระทั่งถึงยุคกลาง วรรณคดีภาษาลาตินละตินจึงไม่ได้จำกัดอยู่แค่นักเขียนโรมัน เช่น [[กิแกโร|คิเคโร]] [[เวอร์จิล]] [[ออวิด|โอวิด]] และ[[โฮเรส]] เท่านั้น แต่ยังรวมถึงนักเขียนยุโรปที่ยังผลิตงานเขียนในภาษาละตินออกมาแม้อาณาจักรโรมันจะล่มสลายไปแล้ว ตั้งแต่นักเขียนด้านศาสนาอย่าง [[ทอมัส อไควนัส|ธอมัส อไควนัส]] (1225 - 1274) จนถึงนักเขียนฆารวาสอย่าง [[ฟรานซิส เบคอน]] (1561 - 1626) [[บารุค สปิโนซา]] (1632 - 1677) และ ไอแซก นิวตัน (1642 - 1727)
 
=== อิทธิพลต่อภาษาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ===
 
== สัทศาสตร์ ==
การออกเสียงแบบโบราณของภาษาลาตินละตินได้ถูกรวบรวมขึ้นใหม่ รับการสืบสร้างทั้งตามข้อสันนิษฐาน และหลักฐานการบันทึกไว้ของนักเขียนสมัยโบราณ ซึ่งให้ข้อสังเกตุเกี่ยวกับการออกเสียง การสะกด การเล่นคำ และรากคำจากภาษาโบราณไว้ <ref>{{harvnb|Allen|2004|pp=viii–ix}}</ref>
 
การออกเสียงแบบโบราณของภาษาลาตินได้ถูกรวบรวมขึ้นใหม่ ทั้งตามข้อสันนิษฐาน และหลักฐานการบันทึกไว้ของนักเขียนสมัยโบราณ ซึ่งให้ข้อสังเกตุเกี่ยวกับการออกเสียง การสะกด การเล่นคำ และรากคำจากภาษาโบราณไว้ <ref>{{harvnb|Allen|2004|pp=viii–ix}}</ref>
 
===พยัญชนะ===
ตารางหน่วยพยัญชนะของภาษาละตินคลาสสิก :<ref>{{cite book|first=Andrew L.|last=Sihler|title=New Comparative Grammar of Greek and Latin|url=https://books.google.com/books?id=IeHmqKY2BqoC|accessdate=12 March 2013|year=1995|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-508345-3}}</ref>
 
{| class="wikitable IPA" style="text-align: center;"
เส้น 54 ⟶ 52:
|-
! rowspan="2" | [[เสียงระเบิด]]
! <small>[[voice (phonetics)|ออกเสียงโฆษะ]]</small>
| b
| d
เส้น 62 ⟶ 60:
|
|-
! <small>[[voicelessness|ไร้เสียงอโฆษะ]]</small>
| p
| t
เส้น 71 ⟶ 69:
|-
! rowspan="2" | [[Fricative consonant|เสียงเสียดแทรก]]
! <small>[[voice (phonetics)|ออกเสียงโฆษะ]]</small>
|
| z
เส้น 79 ⟶ 77:
|
|-
! <small>[[voicelessness|ไร้เสียงอโฆษะ]]</small>
| f
| s
เส้น 112 ⟶ 110:
|}
 
ในภาษาละตินเก่า และสมัยคลาสสิคภาษาละตินคลาสสิก จะไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างอักษรตัวใหญ่ (uppercase) และตัวเล็ก (lowercase) หรือระหว่างตัวอักษร «J•U•W»J, U, W แทนที่จะสะกดด้วยอักษร «J•J, U» ก็สามารถใช้ อักษร «I•I, V» สะกดแทนได้ตามลำดับ นอกจากนี้อักษร «I•I, V» ยังสามารถเป็นได้ทั้งสระและพยัญชนะ
 
{| class="wikitable"
|+ Notes
|-
! อักษร<br />ลาตินละติน !! เสียง<br />ลาตินละติน !! ตัวอย่างเทียบกับภาษาอังกฤษ
|-
! [[c]]
เส้น 173 ⟶ 171:
 
===เสียงสระ===
====สระเดี่ยว====
 
====เสียงสระอย่างง่าย====
{| class="wikitable" style="text-align: center;"
|-
เส้น 188 ⟶ 185:
| || {{IPA|a aː}} ||
|}
 
 
 
{| class="wikitable"
|+ Pronunciation of Latin vowels
! อักษร<br />ลาตินละติน
! ออกเสียง
! ตัวอย่าง
เส้น 239 ⟶ 234:
| as in German ''früh'' when long (or as long ''u'' or ''i'')
|}
 
 
 
====สระประสมสองเสียง====
 
{| class="wikitable" style="text-align: center;"
|+ สระประสมสองเสียง<br/>แบ่งตามเสียงเริ่มต้น