ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gp.Capt.tachakorn (คุย | ส่วนร่วม)
เข้าใจเนื้อหา
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Sanzio 01.jpg|thumb|upright=1.5|''[[The School of Athens]]'' (1509–1511) โดย [[ราฟาเอล]], แสดงบรรดา[[ปรัชญากรีกโบราณ|นักปรัชญาชาวกรีก]]ที่มีชื่อเสียงใน[[กรีซยุคคลาสสิก|สมัยคลาสสิก]]ไว้ในภาพเดียวกัน]]
คำว่า '''ปรัชญา''' มีที่มามาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ''ปฺร'' ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ''ชฺญา'' ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็น[[ศัพท์บัญญัติ]]โดย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] แทนคำว่า ''philosophy'' ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำ{{lang-grc|Φιλοσοφία}} ซึ่ง[[พีธากอรัส|ไพธากอรัส]]เป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อนค.ศ. โดยแยกได้เป็นคำว่า ''φιλεῖν พีเลน'' แปลว่า [[ความรัก]] และ ''σοφία โซเฟีย'' แปลว่า[[ความรู้]] เมื่อรวมกันจึงมีความหมายว่า '''''ความรักในความรู้''''' หรือ '''''ความปรารถนาจะเข้าถึงความรู้หรือปัญญา'''''
 
ปรัชญา ตาม[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน]] แปลว่า วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และหลักแห่งความจริง โดยในบรรดาความรู้ทั้งหลายของมนุษยชาตินั้น อาจแบ่งได้เป็นสองเรื่องใหญ่ ๆ
 
เรื่องที่หนึ่ง คือ '''เรื่องเกี่ยวกับ[[ธรรมชาติ]]''' เช่น [[ฟิสิกส์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเพื่อหาความจริงต่าง ๆ และเข้าใจในธรรมชาติมากกว่าสิ่งรอบตัวเพราะรวมไปถึงจักรวาลทั้งหมดอย่างลึกซึ้ง [[ชีววิทยา]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย [[เคมี]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับธาตุและองค์ประกอบของธาตุ เป็นต้น นับแต่สมัยกรีกโบราณมาจนถึงศตวรรษที่ 19 การศึกษาวิชาดาราศาสตร์ การแพทย์ และฟิสิกส์ เคยถูกรวมอยู่สาขา[[ปรัชญาธรรมชาติ]] (Natural philosophy) จนกระทั่งการเติบโตของมหาวิทยาลััยสมัยใหม่มหาวิทยาลัยสมัยใหม่ ส่งผลให้นักวิชาการหันไปพัฒนาศาสตร์เฉพาะทางขึ้นมา
 
เรื่องที่สอง คือ '''เรื่องเกี่ยวกับ[[สังคม]]''' เช่น [[เศรษฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม [[รัฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองของสังคม [[นิติศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของสังคม เป็นต้น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปรัชญา"