ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 80:
 
สาเหตุของการปฏิวัติมาจากการรับภาระหนักของประชาชนในช่วงสี่ปีของสงคราม, ผลกระทบที่รุนแรงจากความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิเยอรมันและเกิดสภาวะความตรึงเครียดทางสังคมระหว่างประชาชนธรรมดากับขุนนางชนชั้นสูงและ[[ชนชั้นกระฎุมพี|ชนชั้นกลาง]]ของนายทุน, ที่ครองอำนาจและเพิ่งแพ้สงคราม
 
รากเหง้าของการปฏิวัติได้ถูกวางเอาไว้ในความปราชัยของจักรวรรดิเยอรมันสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและความตึงเครียดทางสังคมที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นไม่นาน ขั้นแรกของการปฏิวัติได้ถูกจุดชนวนโดยนโยบายของกองบัญชาการระดับสูงแห่งกองทัพบกเยอรมันและขาดการประสานงานกับกองบัญชาการกองทัพเรือ เมื่อเผชิญความพ่ายแพ้ กองบัญชาการกองทัพเรือได้ยืนยันที่จะพยายามเร่งรัดการสู้รบที่สำคัญกัลกองทัพราชนาวีแห่งอังกฤษโดยคำสั่งกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ยุทธนาวีไม่เคยเกิดขึ้น แทนที่จะปฏิบัติตามคำสั่งของพวกเขาเพื่อเริ่มเตรียมเข้าสู้รบกับอังกฤษ ทหารเรือเยอรมันได้ก่อจลาจลที่ท่าเรือของกองทัพเรือที่ wilhelmshaven เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ตามมาด้วยการก่อกบฏที่คีลในวันแรกของเดือนพฤศจิกายน ความโกลาหลครั้งนี้ได้แพร่กระจายไปถึงจิตวิญญาณของพลเมืองได้เกิดความระส่ำระสายไปทั่วเยอรมนีและท้ายที่สุดได้นำสู่การประกาศสาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 หลังจากนั้นไม่นาน [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]] ทรงสละราชบัลลังก์ และลี้ภัยออกนอกประเทศ
 
การปฏิวัติ, ได้รับแรงบันดาลใจจากอุดมการณ์สังคมนิยม ไม่ยอมมอบอำนาจให้กับสภาแบบโซเวียตของพวกบอลเชวิกในรัสเซีย
 
{{โครงส่วน}}
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมัน]]