ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลก (ดาวเคราะห์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Earthtom24 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 140:
===ประวัติทางธรณีวิทยา===
{{Main|ประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลก}}
[[Fileไฟล์:USA 10654 Bryce Canyon Luca Galuzzi 2007.jpg|thumb|ฮูดูที่อุทยานแห่งชาติไบรส์แคนยอน รัฐยูทาห์ สหรัฐ]]
 
บรรยากาศโลกและมหาสมุทรประกอบขึ้นจากกัมมันตภาพ[[ภูเขาไฟ]]และกระบวนการปล่อยก๊าซ (outgassing) ไอน้ำจากสองแหล่งดังกล่าวควบแน่นเป็นมหาสมุทร รวมกับน้ำและน้ำแข็งที่มากับ[[ดาวเคราะห์น้อย]] ดาวเคราะห์ก่อนเกิด และ[[ดาวหาง]]<ref name="watersource"/> ตามแบบจำลองนี้ "[[แก๊สเรือนกระจก|ก๊าซเรือนกระจก]]" ในบรรยากาศช่วยรักษามหาสมุทรไม่ให้เยือกแข็งเมื่อดวงอาทิตย์ที่เพิ่งก่อกำเนิดยังมี[[ความสว่างดวงอาทิตย์|ความสว่าง]]เพียงร้อยละ 70 เทียบกับปัจจุบัน<ref name=asp2002/> ราว {{val|3.5|u=พันล้านปีก่อน}} เกิด[[สนามแม่เหล็กของโลก|สนามแม่เหล็กโลก]]ซึ่งช่วยปกป้องบรรยากาศไม่ให้ถูก[[ลมสุริยะ]]พัดพาไป<ref name=physorg20100304/>
บรรทัด 395:
[[ความกดอากาศ]]บนพื้นผิวโลกมีค่าเฉลี่ยที่ 101.325 [[ปาสกาล (หน่วยวัด)|กิโลปาสกาล]] คิดเป็นอัตราความสูงประมาณ 8.5 กิโลเมตร<ref name="earth_fact_sheet"/> มีองค์ประกอบเป็น[[ไนโตรเจน|ธาตุไนโตรเจน]]ร้อยละ 78 [[ออกซิเจน|ธาตุออกซิเจน]]ร้อยละ 21 รวมถึงไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซในรูปโมเลกุลชนิดอื่นปริมาณเล็กน้อย ความสูงของชั้น[[โทรโพสเฟียร์]]ผันแปรตามละติจูด มีพิสัยตั้งแต่ 8 กิโลเมตรที่บริเวณขั้วโลกไปจนถึง 17 กิโลเมตรที่เส้นศูนย์สูตร โดยมีความเบี่ยนเบนเล็กน้อยจากผลของสภาพอากาศและปัจจัยหลายประการตามฤดูกาล<ref name=geerts_linacre97/>
 
[[ชีวมณฑล]]ของโลกส่งผลเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญต่อ[[บรรยากาศ]] การสังเคราะห์ด้วยแสงแบบสร้างออกซิเจนวิวัฒน์ขึ้นเมื่อราว 2.7 พันล้านปีก่อน ได้สร้างบรรยากาศที่มีไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นหลักดังเช่นในปัจจุบัน<ref name="NYT-20131003" /> การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้สิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนสามารถแพร่กระจายได้ และมีผลโดยอ้อมเกิดการก่อรูปของชั้นโอโซนเนื่องากการเปลี่ยน O<sub>2</sub> ในบรรยากาศเป็น O<sub>3</sub> ชั้นโอโซนกั้นการแผ่[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]จากดวงอาทิตย์ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถเกิดขึ้นบนโลกได้ บรรยากาศยังทำหน้าที่อื่นที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตได้แก่ การเคลื่อนย้ายไอน้ำ อำนวยก๊าซที่เป็นประโยชน์ ทำให้[[สะเก็ดดาว]]ขนาดเล็กเผาไหม้ไปหมดก่อนที่จะกระทบพื้น และการปรับอุณหภูมิไม่ให้ร้อนหรือเย็นเกิน<ref name="atmosphere"/> ปรากฏการณ์สุดท้ายนี้เรียก [[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]] โมเลกุลของก๊าซสัดส่วนเล็กน้อยภายในบรรยากาศทำหน้าที่กักเก็บ[[พลังงานความร้อน]]ที่แผ่ออกจากพื้นดินเป็นผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น [[ไอน้ำ]] [[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[มีเทน]] และ[[โอโซน]] เป็น[[ก๊าซเรือนกระจก]]หลักในบรรยากาศ หากปราศจากปรากฏการณ์กักเก็บความร้อนนี้ อุณหภูมิเฉลี่ยที่พื้นผิวจะเป็น −18 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับอุณหภูมิปัจจุบันที่ +15 องศาเซลเซียส<ref name="Pidwirny2006_7" /> และอาจไม่มีสิ่งมีีมีชีวิตบนโลกในรูปลักษณ์ปัจจุบัน<ref name=Narottam2008/>
 
====ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ====
บรรทัด 576:
|+ ลักษณะเฉพาะ
|-
| colspan=2 | [[Fileไฟล์:FullMoon2010.jpg|center|200px]] ภาพ[[จันทร์เพ็ญ|จันทร์เต็มดวง]]เมื่อมองจากซีกโลกเหนือ
|-
| '''[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]]''' || {{val|3474.8|u=กม.}}