ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พระราชบิดาพระเทพราชา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 159.192.216.170 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Tvcccp
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| image = ไฟล์:พระบรมรูป สมเด็จพระเจ้าเสือ วัดไทร.jpg|พระเจ้าเสือ
| personal name = มะเดื่อ
| full name = สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
| birth_date = พ.ศ. 2204
|birth_place = [[อำเภอโพธิ์ประทับช้าง|ตำบลโพธิ์ประทับช้าง]] [[จังหวัดพิจิตร|เมืองพิจิตร]] [[อาณาจักรอยุธยา]]<ref name="พิจิตร" />
| death_date = พ.ศ. 2251
|death_place = [[กรุงศรีอยุธยา]] [[อาณาจักรอยุธยา]]
|succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| father = [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]],[[สมเด็จพระเพทราชา]]
| mother = [[นางกุสาวดี]]
| spouse =
| issue = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]<br>[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]<br>เจ้าฟ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม<br>เจ้าฟ้าหญิงแก้ว<ref>[http://www.kingdom-siam.org/ayudhya-e.html ราชอาณาจักรสยาม]</ref><br>[[พระองค์เจ้าทับทิม]]<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?.'' กรุงเทพฯ:มติชน, 2548, หน้า 70</ref>
| dynasty = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง|บ้านพลูหลวง]]
| reign = 6 กุมภาพันธ์<ref name=พี/> พ.ศ. 2246–2251
| predecessor = [[สมเด็จพระเพทราชา]]
| successor = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]]
|title = พระมหากษัตริย์ไทย
}}
'''สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8''' หรือ[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ว่า '''สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี''' เป็น[[พระมหากษัตริย์ไทย]]รัชกาลที่ 29 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] และเป็นพระองค์ที่สองแห่ง[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]] ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ พ.ศ. 2246 — พ.ศ. 2251
 
เส้น 5 ⟶ 26:
[[สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ]] ได้ระบุในหนังสือ ศิลปะมวยไทย ถึงพระองค์ในการปลอมพระองค์เป็นชาวบ้านมาชกมวยกับนักมวยฝีมือดีจาก[[เมืองวิเศษชัยชาญ]] และสามารถชนะนักมวยเอกได้ถึง 3 คน ซึ่งได้แก่ นายกลาง หมัดตาย, นายใหญ่ หมัดเหล็ก และนายเล็ก หมัดหนัก<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=35&chap=3&page=t35-3-infodetail01.html ประวัติความเป็นมาของมวยไทย - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ]</ref> ปัจจุบัน [[กระทรวงวัฒนธรรม]] ได้กำหนดให้วันที่ 6 กุมภาพันธ์ ซึ่งตรงกับวันที่พระองค์ได้ขึ้นครองราชย์ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์เป็น[[วันมวยไทย]]<ref name=พี>{{cite news|work=[[พีพีทีวี]]|title=6 กุมภาพันธ์ “วันมวยไทย” เทิดไท้ “พระเจ้าเสือ”|url=http://www.pptvthailand.com/sport/news/22592|date=5 กุมภาพันธ์ 2559|accessdate=9 กันยายน 2559}}</ref>
 
นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงฝึก[[เจ้าฟ้าเพชร]]และ[[เจ้าฟ้าพร]]ผู้เป็นพระราชโอรส ให้มีความสามารถในด้าน[[มวยไทย]], [[กระบี่กระบอง]] และ[[มวยปล้ำ]]<ref>[http://student.nu.ac.th/muaythaiboran/prawatmuay02.htm ประวัติมวยไทย]</ref>

== พระราชประวัติ ==
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน]] ระบุว่า สมเด็จพระเจ้าเสือเป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]กับพระสนมซึ่งเป็นพระราชธิดาใน[[พระแสนเมือง|พญาแสนหลวง เจ้าเมืองเชียงใหม่]]<ref>''พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน'', หน้า 239-240</ref> โดย[[คำให้การขุนหลวงหาวัด]]ออกพระนามว่า ''พระราชชายาเทวี'' หรือ ''เจ้าจอมสมบุญ'' ส่วนใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]เรียกว่า ''[[นางกุสาวดี]]''<ref name="sk">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. "พงศาวดารกระซิบเรื่องโอรสลับพระนารายณ์". ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 11 กันยายน 2552 กรุงเทพ:สำนักพิมพ์มติชน,2552. หน้า 109</ref>
 
แต่ในเวลาต่อมา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้พระราชทานพระสนมดังกล่าวให้แก่[[สมเด็จพระเพทราชา|พระเพทราชา]] เมื่อครั้งที่ดำรงตำแหน่ง (เจ้ากรมช้าง) โดยในคำให้การขุนหลวงหาวัดและคำให้การชาวกรุงเก่า มีเนื้อหาสอดคล้องกัน กล่าวคือนางเป็นสนมลับของพระนารายณ์แต่แตกต่างกันเพียงชื่อของนาง และเหตุผลในการพระราชทานพระโอรสแก่พระเพทราชา แต่พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ กลับให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระชาติกำเนิดแตกต่างไปจากคำให้การของขุนหลวงหาวัดและคำให้การชาวกรุงเก่า โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงทำศึกสงครามกับเมืองเชียงใหม่แล้วได้ราชธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นสนม แต่นางสนมเกิดตั้งครรภ์ พระองค์ได้ละอายพระทัยด้วยเธอเป็นนางลาว พระองค์จึงได้พระราชทานแก่พระเพทราชา<ref name="sk" /> ดังความในพระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระพนรัตน์ ความว่า<ref name="st">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุทธยา และพงศาวดารเหนือ''. เล่ม 2. กรุงเทพฯ:องค์การค้าของคุรุสภา, 2504. หน้า 91-94</ref>