ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐฉาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ต้องการอ้างอิงเพิ่ม ลบบทความซ้ำซ้อน เยิ้นเย้อ ลบลิงค์เสีย
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox settlement
<!-- See Template:Infobox settlement for additional fields and descriptions -->
เส้น 75 ⟶ 77:
 
== สภาพภูมิศาสตร์ ==
ลักษณะภูมิประเทศของรัฐชานเต็มไปด้วยภูเขาสูงและผืนป่า รัฐชานจึงเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สินค้าส่งออกที่สำคัญของรัฐชานจึงเป็นจำพวกแร่ธาตุและไม้ชนิดต่างๆ
ลักษณะภูมิประเทศของรัฐชานเต็มไปด้วยภูเขาสูงและผืนป่า พื้นที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สินค้าส่งออกที่สำคัญของรัฐชานจึงเป็นจำพวกแร่ธาตุและไม้ชนิดต่าง ๆ
 
รัฐชานมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[รัฐกะฉิ่น]] ([[ประเทศพม่า]]) [[เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิงผ่อ เต๋อหง|เขตเต๋อหง]] [[เป่าซาน|เขตเป่าซาน]] และ[[หลินซาง|เขตหลินซาง]] ([[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศจีน]])
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[ปู้เอ่อ|เขตซือเหมา]] [[เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา|เขตสิบสองปันนา]] (มณฑลยูนนาน ประเทศจีน) [[แขวงหลวงน้ำทา]] และ[[แขวงบ่อแก้ว]] ([[ประเทศลาว]])
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[จังหวัดเชียงราย]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] ([[ประเทศไทย]]) [[รัฐกะยา]] และ[[รัฐกะเหรี่ยง]] (ประเทศพม่า)
เส้น 85 ⟶ 86:
 
== ประวัติ ==
ไทใหญ่เกิดขึ้น 96 ปี ก่อนคริสต์ศักราช [[พ.ศ. 448]]{{อ้างอิง}} รัฐชาน ในอดีตกาลมีชื่อเรียกว่า "ไต" หรือที่เรียกกันว่า "เมิงไต" ในสำเนียงไต หรือ "เมืองไต" ในสำเนียงไทย มีประชากรหลายชนชาติและอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข โดยมีชนชาติไทใหญ่อาศัยอยู่มากที่สุด เมืองไตเคยมีเอกราชในการปกครองตนเองมาเป็นเวลาหลายพันปี{{อ้างอิง}} ก่อนที่อังกฤษจะขยายอิทธิพลเข้ามาถึง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอาณาเขตของเมืองไตกับพม่าในอดีตนั้นจัดเป็นอิสระต่อกัน หรือกล่าวได้ว่าเป็นคนละอาณาจักรกัน เหมือนดั่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]กับ[[อาณาจักรเขมร]]ประกอบด้วยเมืองรวมทั้งหมด 33 เมือง แต่ละเมืองปกครองด้วยระบบเจ้าฟ้าสืบต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีต
ไทใหญ่เกิดขึ้น 96 ปี ก่อนคริสต์ศักราช [[พ.ศ. 448]]
ลักษณะภูมิประเทศของรัฐชานเต็มไปด้วยภูเขาสูงและผืนป่า รัฐชานจึงเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สินค้าส่งออกที่สำคัญของรัฐชานจึงเป็นจำพวกแร่ธาตุและไม้ชนิดต่างๆ
ปัจจุบันรัฐชานเป็นส่วนหนึ่งของประเทศพม่า มีชายแดนติดกับประเทศไทยด้านตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ
 
รัฐชาน ในอดีตกาลมีชื่อเรียกว่า "ไต" หรือที่เรียกกันว่า "เมิงไต" ในสำเนียงไต หรือ "เมืองไต" ในสำเนียงไทย มีประชากรหลายชนชาติและอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข โดยมีชนชาติไทใหญ่อาศัยอยู่มากที่สุด เมืองไตเคยมีเอกราชในการปกครองตนเองมาเป็นเวลาหลายพันปี ก่อนที่อังกฤษจะขยายอิทธิพลเข้ามาถึง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมืองไตกับพม่าในอดีตนั้นจัดเป็นอิสระต่อกัน หรือกล่าวได้ว่าเป็นคนละอาณาจักรกัน เหมือนดั่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]กับ[[อาณาจักรเขมร]]
อาณาเขตของเมืองไตประกอบด้วยเมืองรวมทั้งหมด 33 เมืองแต่ละเมือง ปกครองด้วยระบบเจ้าฟ้าสืบต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีต และถึงแม้จะมีเจ้าฟ้าปกครองหลายเมือง แต่ทุกเมืองก็รวมกันเป็นแผ่นดินชนชาติไต เนื่องมาจากที่ตั้งของเมืองไตอยู่ใกล้กับประเทศพม่า
เมืองไตกับประเทศพม่ามีการติดต่อค้าขายช่วยเหลือ และให้ความเคารพซึ่งกันและกันมาโดยตลอด เห็นได้จากในช่วงที่เจ้าฟ้าเมืองไตปกครองประเทศพม่าประมาณเกือบ 300 ปีไม่เคยมีการสู้รบกันเกิดขึ้น{{อ้างอิง}} และยังมีการติดต่อค้าขายยังดำเนินไปอย่างสันติสุขเช่นกัน จนกระทั่งมาถึงสมัยบุเรงนอง ได้มีการสู้รบกันกับเจ้าฟ้าเมืองไตกับกษัตริย์พม่าเกิดขึ้น โดยฝ่ายเจ้าฟ้าเมืองไตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ จึงทำให้ราชวงศ์เจ้าฟ้าบางเมือง ต้องจบสิ้นไปดังเช่นราชวงศ์เจ้าฟ้า[[เมืองนาย]]ซึ่งเป็นราชวงศ์ของกษัตริย์มังราย นอกจากนี้ยังมีอีกหลายราชวงศ์ที่ต้องสูญสิ้น ไปเพราะการสู้รบ{{อ้างอิง}}
* [[พ.ศ. 2305]] ในสมัย[[พระเจ้าอลองพญา]] รัฐชานตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ได้จาก[[กรุงศรีอยุธยา]] กษัตริย์พม่าได้ทำการปราบปรามราชวงศ์ เจ้าฟ้าไทใหญ่จนหมดสิ้นไปเป็นจำนวนมาก
* [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2428]] อังกฤษได้ทำการจับกุมและยึดอำนาจกษัตริย์พม่า และขยายอาณาเขตไปยัง[[เมืองเชียงตุง]]ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองไต
* [[พ.ศ. 2433]] ได้ประกาศว่า "อังกฤษได้ยึดเอาเมืองไตเรียบร้อยแล้ว"
เนื่องจากประเทศพม่าซึ่งตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มและ ส่วนเมืองไต ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาไม่ใช่ประเทศเดียวกัน อังกฤษจึงไม่ได้เข้ายึดพร้อมกัน และถึงแม้อังกฤษจะยึดทั้งสองเมืองเป็นเมืองขึ้นของตนแต่ก็ไม่ได้ปกครองทั้งสองเมืองในลักษณะเดียวกัน หากแบ่งการปกครองออกเป็นสองลักษณะ คือประเทศพม่าเป็นเมืองใต้อาณานิคม ส่วนเมืองไตเป็นเมืองใต้การอารักขา
และอังกฤษยังได้จับกุมกษัตริย์พม่าและกำจัดราชวงศ์ทั้งหมดของล้มล้างระบบกษัตริย์พม่า ส่วนเมืองไตอังกฤษไม่ได้ทำลายราชวงศ์เจ้าฟ้า อีกทั้งยังสนับสนุนให้เจ้าฟ้าแต่ละเมือง มีอำนาจปกครองบ้านเมืองของตนเอง และได้สถาปนาให้เมืองทั้งหมดเป็น[[สหพันธรัฐชาน]]ขึ้นกับอังกฤษ มิได้เป็นส่วนหนึ่งของพม่าแต่อย่างใด
* [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2485]] ญี่ปุ่นขอไทยสมัย[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ยกกำลังทหารยึดรัฐชาน [[เชียงตุง]] ในประเทศพม่า จากทหารจีน[[ก๊กมินตั๋ง]] ของจอมพล[[เจียงไคเช็ค]] ญี่ปุ่นได้ส่งมอบให้ไทย ผนวกเป็น[[สหรัฐไทยเดิม]] เป็น[[จังหวัดไทยใหญ่|จังหวัดไทใหญ่]]
* [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2489]] รัฐชานกลับมาสู่อิสรภาพ ครั้งนี้อังกฤษได้ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของพม่า
* [[พ.ศ. 2490]] ช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทางการพม่าพยายามโน้มน้าวเหล่าบรรดาเจ้าฟ้าไต ให้เข้าร่วมเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ เจ้าฟ้าไตจึงได้ร่วมลงนามใน[[สนธิสัญญาปางโหลง]] พร้อมกับชาวพม่าและกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เพื่อขอเอกราชจากอังกฤษ โดยสัญญาดังกล่าวได้นำไปสู่การร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งระบุให้ชนชาติที่ร่วมลงนามในสัญญา สามารถแยกตัวเป็นอิสระได้หลังจากอยู่ร่วมกันครบสิบปี
* [[พ.ศ. 2491]] อังกฤษได้ให้เอกราชกับพม่าและไต รัฐบาลกลางภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในพม่าไม่ยอมทำตามสัญญา และพยายามการรวมดินแดนให้สนธิสัญญาปางโหลงจึงเป็นของประเทศพม่าโมฆะ เหตุนี้จึงทำให้ชาวไตหรือไทใหญ่ จึงก่อตั้งกองกำลังกู้ชาติของตนเองขึ้น
ทางรัฐบาลทหารพม่าได้ใช้ระบอบ[[เผด็จการทหาร]]กับชาวไต อีกทั้งยังได้ทำลายพระราชวังของไทใหญ่ในเมืองเชียงตุงและอีกหลายเมือง และเข้ามาจัดการศึกษาเกี่ยวกับพม่าให้แก่เด็กในพื้นที่ รัฐบาลทหารพม่าได้บังคับให้ประชาชนกว่า 3 แสนคนย้ายที่อยู่ ประชาชนมักถูกเกณฑ์ไปบังคับใช้แรงงาน ทั้งโครงการก่อสร้างและเป็นลูกหาบอาวุธให้ทหาร ทำให้มีผู้ลี้ภัยจำนวนมากหนีเข้ามายังประเทศไทย {{อ้างอิง}}
ปัจจุบันสถานการณ์ภายในรัฐชานก็ยังไม่มีเสถียรภาพทางความมั่นคงเท่าใดนัก และก็ยังมีกองกำลังกู้ชาติของตนเองอยู่ ในปี[[พ.ศ. 2552]] ได้มีการจัดตั้งสภารัฐชาน
* [[พ.ศ. 2552]] ได้มีการจัดตั้งสภารัฐชาน
 
== การปกครอง ==
เส้น 136 ⟶ 130:
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons category|Shan State|รัฐชาน}}
* http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/reply_topic.php?id=3105
* [http://www.taifreedomshanstate.comgov.mm/tha Official website]
* [http://www.themimu.info/MapsInfo/Shan/MIMU182v02_101118_Shan%20State_A3.pdf "Shan State"] relief map showing major towns and revised township boundaries, 18 November 2010, Myanmar Information Management Unit (MIMU)
* http://www.salweennews.org
* [http://www.shanland.org/ Shan Herald Agency for News] [[Shan Herald News Agency|S.H.A.N.]]
* Taipei American Chamber of Commerce; Topics Magazine, Analysis, November 2012. [http://www.amcham.com.tw/content/view/3715/538/ Myanmar: Southeast Asia's Last Frontier for Investment], BY DAVID DUBYNE
*[http://www.cidcm.umd.edu/mar/chronology.asp?groupId=77507 Chronology for Shans in Burma]
 
{{เขตการปกครองพม่า/รัฐฉาน}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐฉาน"