ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โชกุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
 
[[รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ]]ดำรงอยู่จน ค.ศ. 1867 เมื่อโชกุน[[โทกูงาวะ โยชิโนบุ]] ลาออกจากตำแหน่ง และถวายอำนาจคืนให้แก่[[จักรพรรดิเมจิ]]<ref name="worldbook-Japan">{{cite encyclopedia |year=1992 |title=Japan |encyclopedia=The World Book Encyclopedia |publisher=World Book |location= |isbn=0-7166-0092-7 |pages=34–59}}</ref>
 
==สิ่งตกทอด==
 
หลังจากที่ญี่ปุ่นยอมจำนานในสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว [[ดักลาส แมกอาเธอร์]] นายพลชาวอเมริกัน เป็นผู้ปกครองญี่ปุ่นในทางพฤตินัยระหว่างที่ญี่ปุ่นถูกฝ่ายชนะสงครามยึดครอง แมกอาเธอร์มีอิทธิพลมากในญี่ปุ่นจนเขาได้สมญาว่า "ไกจินโชกุน" (外人将軍)<ref>{{cite book|last1=Valley|first1=David J.|title=Gaijin Shogun : Gen. Douglas MacArthur Stepfather of Postwar Japan|date=April 15, 2000|publisher=Sektor Company|location=Title|isbn=978-0967817521|url=https://www.amazon.com/Gaijin-Shogun-Douglas-MacArthur-Stepfather/dp/0967817528|accessdate=2 June 2017}}</ref>
 
ปัจจุบัน หัวหน้า[[รัฐบาลญี่ปุ่น]] คือ [[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น]] ส่วนคำว่า "โชกุน" ยังมีการใช้ใน[[ภาษาปาก]]อยู่ เช่น นายกรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่งแล้วแต่ยังมีอิทธิหลังฉากอยู่เรียกว่า "ยามิโชกุน" (闇将軍; "โชกุนเงา") คล้ายกับจักรพรรดิสมัยก่อนที่สละราชบัลลังก์แล้วแต่ยังคงพระราชอำนาจต่อไป เรียกว่า "[[การว่าราชการในวัด]]" นักการเมืองที่ได้ฉายายามิโชกุน เช่น [[ทากูเอ ทานากะ]] และ[[อิจิโร โอซาวะ]]<ref>Ichiro Ozawa: the shadow shogun. In: ''The Economist'', September 10, 2009.</ref>
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โชกุน"