ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาลิซานิด โนซาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล ภาษา |name=ภาษาลิซานิด โนซาน |nativename=לשניד נשן ''Lišānîd Nošān'', לשנא די...
 
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
|fam7=ภาษาอราเมอิกตะวันออกเฉียงเหนือ
|iso2=arc|iso3=aij}}
 
 
'''ภาษาลิซานิด โนซาน''' เป็น[[ภาษาอราเมอิกใหม่]]ของชาวยิว เริ่มใช้พูดในทางใต้และทางตะวันออกของ[[เคอร์ดิสถาน]]ใน[[อิรัก]] อยู่ในบริเวณที่เรียกว่าอาร์บิล ผู้พูดส่วนใหญ่ปัจจุบันอยุ่ใน[[อิสราเอล]] คำว่าลิซานิก โนซานหมายถึง “ภาษาของพวกเราเอง” ชื่อเรียกอื่นๆของภาษานี้คือ ภาษาฮาลัวลา (หมายถึงภาษายิว) ภาษากาลิกาลู (หมายถึง “ของฉัน-ของคุณ” เรียกตามลักษณะเฉพาะของไวยากรณ์ และภาษาคูร์ดิต (หมายถึงภาษาเคิร์ด)
 
== จุดกำเนิด ==
 
สำเนียงของภาษาอราเมอิกใหม่จำนวนมากใช้พูดในบริเวณทะเลสาบอูร์เมียและทะเลสาบวานใน[[ตุรกี]] จนถึงที่ราบโมซุลในอิรักและบริเวณซานานดาซใน[[อิหร่าน]] ภาษาลิซานิดใช้พูดในแถบตอนกลางของบริเวณนี้จัดอยู่ในสำเนียงตะวันตกเฉียงใต้ ไม่อาจเข้าใจกันได้กับ[[ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย]]และ[[ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย]]
 
== การใช้ในปัจจุบัน ==
 
ภาษานี้มีสำเนียงหลักสองกลุ่ม กลุ่มแรกคือกลุ่มตะวันตกใช้พูดรอบๆอาร์บิล ชาวยิวส่วนใหญ่ในบริเวณนี้พูด[[ภาษาอาหรับ]]ด้วยและภาษาสำเนียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับแบบอิรักมาก สำเนียงตะวันออกพบในเมืองกอย ซันจัต ในเขตภูเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิรัก สำเนียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับและ[[ภาษาเคิร์ด]]มาก
 
เส้น 32 ⟶ 29:
* Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.
* Khan, Geoffrey (1999). A Grammar of Neo-Aramaic: the dialect of the Jews of Arbel. Leiden: EJ Brill.
 
 
{{อราเมอิกใหม่}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิรัก|ลิซานิด โนซาน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิสราเอล|ลิซานิด โนซาน]]
 
[[en:Lishanid Noshan language]]