ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Siripornhui (คุย | ส่วนร่วม)
Siripornhui (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
'''สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี''' (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ '''สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์''' พระนามเดิม '''นาก''' หรือ '''นาค''' เป็น[[สมเด็จพระราชินี]]พระองค์แรกของ[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เพราะเป็นสมเด็จพระอัคร[[มเหสี]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สมเด็จพระบรมราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ [[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2280]] ในรัชกาลของ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] ณ บ้านบางช้าง ตำบลอัมพวา อำเภอเมือง[[สมุทรสงคราม]] พระชนกชื่อ "ทอง" ([[พระชนกทอง ณ บางช้าง]]) พระชนนีชื่อ "สั้น" ([[สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี]]) เป็นคหบดีเชื้อสาย[[มอญ]] <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]], ม.ร.ว.
| ชื่อหนังสือ = โครงกระดูกในตู้
บรรทัด 73:
เมื่อ พ.ศ. 2310 พม่าตีกรุงศรีอยุธยาแตก หลวงยกกระบัตรจึงตัดสินใจอพยพครอบครัวเข้าไปอยู่ในป่าลึก ในระหว่างนี้ ท่านแก้ว ([[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]) พี่สาวของหลวงยกกระบัตร ได้คลอดบุตรหญิงคนหนึ่งตั้งชื่อว่า “บุญรอด” (ต่อมาได้เป็น[[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]] ในรัชกาลที่ 2) ครั้งเมื่อพระยาวชิรปราการได้รวบรวมกำลังขับไล่พม่าออกไปหมดแล้ว ได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็น[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] หลวงยกกระบัตรจึงได้อพยพครอบครัวกลับภูมิลำเนาเดิมในช่วงนี้เอง คุณนาคก็ได้คลอดบุตรคนที่ 4 เป็นชาย ชื่อฉิม ([[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]) หลังจากนั้น หลวงยกกระบัตร ก็ได้กลับเข้ารับราชการอยู่กับ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระราชวรินทร์เจ้ากรมพระตำรวจนอกขวา จนกระทั่งเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
 
ในสมัยกรุงธนบุรี ขณะที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยังเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกนั้น ได้เกิดเหตุที่ทำให้ทั้งสองพระองค์ทรงขัดเคืองพระทัยกัน สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกนั้นทรงเป็นแม่ทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์จนแตกพ่ายย่อยยับไป และได้รับนางคำแว่นเป็นชายาตามธรรมเนียมรบ โดยในครั้งนั้นได้เชิญเสด็จพระราชบุตรใน[[พระเจ้าศิริบุญสาร]] (นักองค์บุญ) [[เจ้านันทเสน]] [[เจ้าอินทวงศ์]] และ[[เจ้าอนุวงศ์]] ทั้งยังกวาดต้อนชาวลาวพร้อมทั้งทรัพย์สมบัติมีค่าต่างๆกลับมายังกรุงธนบุรีด้วย มีบันทึกว่า ทรงเสน่ห์หาเสน่หาในตัวหญิงหน้าตาสวยหมดจด เชื้อสายลาวพุงขาวคนนี้มาก แต่ทรงเกรงในท่านผู้หญิงนากนาค ที่มีปากเสียงกับพระองค์ด้วยเรื่องของบาทบริจาริกาและหญิงบำเรอของพระองค์อยู่บ่อยๆ พระองค์จึงได้แต่ใช้สอยแว่นในฐานะข้ารับใช้ รอเวลาให้ท่านผู้หญิงไปประทับใน[[พระราชวัง]] (เป็นเพื่อนบุตรสาวที่เป็นสนมเอกในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) ท่านผู้หญิงนั้นรู้ทันในสวามี สั่งนางข้ารับใช้ชื่อกลัด ซึ่งมีหน้าที่บีบนวดให้พระสวามีทุกคืนว่า หากท่านสั่งหานางแว่นให้มาเคาะบอกแก่ท่านเสียก่อน แล้วค่อยไปตามนางแว่นมาและตัวท่านเองก็ไม่เข้าไปค้างแรมในพระราชวังเป็นเวลานานถึง 2 เดือน จนคืนหนึ่งท่านเจ้าพระยาอดรนทนไม่ไหว สั่งให้กลัดไปตามแว่นมารับใช้ กลัดก็ทำตามที่ท่านผู้หญิงสั่งคือเคาะบอกท่านก่อนจึงไปตามแว่นมา ท่านผู้หญิงก็ถือดุ้นแสมไปยืนคอยดักอยู่ในที่มืดบนนอกชานเรือน พอแว่นทาแป้งและน้ำอบเสร็จแล้วเดินมาทางเรือนหลังใหญ่อันเป็นห้องของท่านเจ้าพระยา ท่านผู้หญิงก็เอาดุ้นแสมตีลงไปกลางหัวจนเลือดไหลท่วมไปหมด นางแว่นเมื่อเห็นท่านผู้หญิงทำดังนั้นก็ร้องขึ้นว่า "เจ้าคุณเจ้าขา คุณหญิงตีหัวดิฉัน" ฝ่ายผู้ตีเองเมื่อเห็นเลือดออกมากก็ตกใจ วิ่งเข้าเรือนแล้วปิดประตูลั่นดาลไว้ ท่านเจ้าพระยาออกมาเห็นแว่นเจ็บดังนั้นก็โกรธยิ่งนัก ฉวยดาบออกจากเรือนจะมาฟันท่านผู้หญิง มาถึงเรือนถีบประตูไม่ออกก็เอาดาบฟันประตูเสียงดังอึกทึกคึกโครมครึกโครม เมื่อคุณฉิม ([[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]) ลูกชายคนโตได้ยินเหตุการณ์เข้า นึกว่าเจ้าคุณพ่อโมโหใหญ่โตเช่นนั้น หากปล่อยไว้เกรงว่าแม่จะได้รับอันตราย จึงช่วยกันกับพี่เลี้ยงเข็นเอาครกตำข้าวมาต่อใต้หน้าต่างเรือนท่านผู้หญิงพลางร้องเรียกให้หนีลงมา และพาหลบหนีไปอยู่ในพระราชวังหลวง โดยอาศัยอยู่ในตำหนักเจ้าจอมฉิมใหญ่ (พระราชธิดาของท่านที่เป็นพระสนมเอก) เมื่อท่านเจ้าพระยาเข้ามาและเห็นดังนั้น จึงให้นางแว่นรับตำแหน่งดูแลข้าทาสและความเรียบร้อยในเรือนทั้งหมดแทนท่านผู้หญิง
 
=== พระมเหสีในรัชกาลที่ 1 ===
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ปราบดาภิเษกสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]]และ[[พระบรมมหาราชวัง]]ขึ้น สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีก็มิได้เคยเสด็จเข้ามาประทับในพระบรมมหาราชวังเลย แต่ประทับอยู่ที่[[พระราชวังเดิม]]กับเจ้าฟ้าฉิมพระโอรส จะเสด็จมาเยี่ยมพระราชธิดาในพระบรมมหาราชวังแต่เพียงครั้งคราวเท่านั้น ซึ่งจะเสด็จออกจากวังก่อนประตูปิดย่ำค่ำทุกครั้งไป ทั้งนี้พระองค์ไม่ทรงยอมใช้ราชาศัพท์กับพระสวามีหรือพระราชโอรสกับพระราชธิดาแต่อย่างใด ทรงเรียกพระสวามีว่า เจ้าคุณ และเรียกพระราชโอรสว่า พ่อ และพระราชธิดาว่า แม่ โดยพระองค์ทรงยินดีที่จะให้ใช้ภาษาสามัญของคนธรรมดา ส่วนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกก็มิได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นเจ้าแต่อย่างใด ยังคงเป็นท่านผู้หญิงนากนาคตามเดิม ดังในธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยามปรากฏว่า
 
"...ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมเด็จพระอมรินทรามาตย์เป็นท่านผู้หญิงเดิม มีพระราชโอรส พระราชธิดาเป็นเจ้าฟ้าต่างกรมไหญ่ใหญ่ ถึง ๔ พระองค์ ก็ไม่เห็นท่านยกย่องตั้งแต่งอย่างไร แต่คนทั้งปวงเข้าใจว่าท่านเป็นพระมารดาของเจ้าฟ้า ก็นับถือท่านว่าเป็นพระมเหสี..."
 
=== สมเด็จพระบรมราชชนนีในรัชกาลที่ 2 ===
บรรทัด 91:
 
==พระราชกรณียกิจ==
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีทรงสร้าง[[วัดอัมพวันเจติยาราม]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ขึ้นในบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระองค์เพื่ออุทิศถวายแด่พระชนนี (สมเด็จพระรูปศิริโสภาค ศิริโสภาคย์มหานาคนารี) ไว้ที่องค์พระปรางค์ด้วย
 
==พระราชบุตร==
บรรทัด 120:
 
== พระอิสริยยศ ==
* นาค
* นาก
* ท่านผู้หญิงนากนาค
* สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์
* กรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์