ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศลัตเวีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 68:
 
== ภูมิศาสตร์ ==
=== ภูมิประเทศ ===
ประเทศลัตเวียอยู่ทางยุโรปตะวันออกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเอสโตเนียซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศลิทัวเนีย ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับอ่าวริก้า แผ่นดินด้านตะวันตกและทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับทะเล
 
พื้นที่เกือบทั้งประเทศเป็นที่ราบที่อุดมสมบูรณ์สลับกับเนินสูง ประกอบด้วยแม่น้ำสายเล็กมากมาย แม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลผ่านลัตเวียคือแม่น้ำ เวสเทิร์นดวินา (ภาษาลัตเวียเรียกว่า daugava) เป็นที่ตั้งของเมืองใหญ่หลายแห่ง มีทะเลสาบมากกว่า 3,000 แห่ง ป่าไม้มีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 5 ของประเทศแต่ทรัพยากรป่าไม้ได้รับการพัฒนาน้อย มียอดเขาสูงที่สุดชื่อ Gaizins มีความสูง 312 เมตรจากระดับน้ำทะเล
 
=== ภูมิอากาศ ===
เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบจึงมีพื้นที่บางส่วนที่เกิดน้ำท่วมขังเป็นประจำเหมือนบริเวณป่าพรุ และมีลมจากทะเลพัดผ่านตลอดปีทำให้บางปีมีอากาศเย็นจนต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง
 
== การเมือง ==
== ประวัติศาสตร์ ==
=== โครงสร้าง ===
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ลัตเวีย}}
=== ยุคกลาง ===
{{บทความหลัก|สงครามครูเสดตอนเหนือ|สงครามครูเสดลิโวเนีย}}
 
=== ความสัมพันธ์ทางการเมือง ===
{{บทความหลัก|ลิโวเนียสวีเดน|ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย|ดัชชีลิโวเนีย|เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย}}
 
=== ลัตเวียภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การประกาศเอกราช ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สงครามโลกครั้งที่ 2 ===
{{บทความหลัก|ลัตเวียในสงครามโลกครั้งที่ 2|การบุกครองลัตเวียของเยอรมนี}}
 
=== คอมมิวนิสต์โซเวียต ===
{{บทความหลัก|การบุกครองลัตเวียของโซเวียต|สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย|ลัทธิสตาลิน}}
 
=== การประกาศเอกราช ค.ศ. 1991 ===
{{บทความหลัก|การปฏิวัติร้องเพลง|บอลติกเวย์}}
 
== การเมืองการปกครอง ==
=== บริหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
ระบบการเมือง หลังจากได้รับเอกราช เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2533 ลัตเวียได้มีการปกครองแบบสาธารณรัฐประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2535 ซึ่งมีผลบังคับใช้แทนรัฐธรรมนูญที่สหภาพโซเวียตประกาศใช้มาก่อนหน้านั้นแล้ว และในปัจจุบันได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปี 2535*
 
=== นิติบัญญัติ ===
{{โครง-ส่วน}}
สถาบันทางการเมืองลัตเวียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภา เป็นระบบสภาเดียว เรียกว่า Saiema ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 100 คน โดยประธานาธิบดีจะเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เพื่อลงมติให้ความไว้วางใจ ในการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ (พรรคการเมืองที่เข้าร่วมรัฐสภาต้องได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 4 จากการลงคะแนนเสียงทั่วประเทศ)
 
===สถานการณ์ทางการเมือง===
=== ตุลาการ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สิทธิมนุษยชน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
[[ไฟล์:Latvia districts numbered.png|right|750px|แผนที่เขตการปกครองของประเทศลัตเวีย]]
 
เส้น 154 ⟶ 123:
[[เขตอาเบรเน]]ถูกผนวกเข้ากับ[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] สถานะของเขตนี้กำลังเป็นกรณีพิพาทกับลัตเวีย
 
=== นโยบายต่างประเทศ ===
เป้าหมายสำคัญที่สุดของนโยบายด้านความมั่นคงที่แถลงออกมาอย่างชัดแจ้งของลัตเวีย คือ การเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) เพื่อเป็นหลักประกันด้านความมั่นคงของลัตเวีย เนื่องจากลัตเวียยังคงมีความระแวงต่อ ภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้นจากรัสเซีย ซึ่งพัฒนาการล่าสุดในการเข้าเป็นสมาชิกองค์การ NATO ของลัตเวีย และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านบอลติก คือ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 สมาชิกองค์การ NATO 19 ประเทศ ได้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ 7 ประเทศ คือ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย สโลวะเกีย และสโลวีเนีย ที่กรุงบรัสเซลส์ ต่อมา เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2547 ประเทศสมาชิกองค์การ NATO ใหม่ ทั้ง 7 ประเทศ ได้มอบภาคยานุวัตรสารให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมรีกา ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
และในด้านนโยบายต่างประเทศ คือ การเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป (EU) เพื่อเข้าร่วมกระบวนการรวมตัวของยุโรป โดยลัตเวียและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มบอลติก คือ เอสโตเนีย และลิทัวเนีย พร้อมด้วยสาธารณรัฐเช็ก ไซปรัส ฮังการี มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย และสโลวะเกีย ได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปอย่างสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 (ค.ศ.2004)
เส้น 160 ⟶ 129:
นอกจากนี้ ลัตเวียและประเทศเพื่อนบ้านกลุ่มบอลติกยังเข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์กรภูมิภาคอื่นๆ เช่น คณะมนตรีบอลติก (Baltic Council) และองค์การเพื่อความมั่นคง และความร่วมมือในยุโรป (Organization for Security and Cooperation in Europe - OSCE) เป็นต้น
 
==== นโยบายต่อสหภาพยุโรป ====
เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 ลัตเวีย และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านบอลติก คือ เอสโตเนียและลิทัวเนีย พร้อมประเทศยุโรปตะวันออก ซึ่งได้แก่ สาธารณรัฐเช็ก ไซปรัส ฮังการี มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย และสโลวะเกีย รวม 10 ประเทศ ได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปอย่างสมบูรณ์
สรุปพัฒนาการของลัตเวียต่อสหภาพพยุโรปในช่วงเวลาที่ผ่านมา
เส้น 167 ⟶ 136:
3. เมื่อวันที่ 26กันยายน 2539 ลัตเวียได้ส่งคำตอบแบบสอบถามรายละเอียดให้ คณะกรรมาธิการยุโรปพิจารณาถึงความพร้อมที่จะทำการเจรจาว่าด้วยการเข้าเป็นสมาชิกภาพ EU โดยสมบูรณ์ ซึ่งลัตเวียได้พยายามทุกวิถีทางที่จะปฏิรูประบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมให้สอดคล้องกับมาตรฐานและระเบียบกฎเกณฑ์ของสหภาพยุโรป เพื่อที่จะได้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปโดยสมบูรณ์ในช่วงปี ค.ศ.2004 พร้อมกับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านบอลติก ซึ่งได้แก่ ลัตเวียและลิทัวเนีย ทั้งนี้ แม้ว่า ลัตเวียจะไม่ได้ร่วมอยู่ในกลุ่มแรกที่สหภาพยุโรป เริ่มกระบวนการเจรจาเพื่อรับสมาชิกใหม่ เนื่องจากระดับการพัฒนาของลัตเวียนั้นยังล้าหลัง และไม่เจริญเท่าประเทศอื่น ๆ เช่น เอสโตเนีย โปแลนด์ ฮังการี และสาธารณรัฐเช็ก ก็ตาม แต่ลัตเวียถือว่าการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปเป็นเป้าหมายสำคัญในด้านการต่างประเทศ
 
==== นโยบายต่อองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ====
พัฒนาการที่สำคัญสรุปได้ ดังนี้
 
เส้น 178 ⟶ 147:
# รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลัตเวีย นาย Artis Pabriks เกิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2509 เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลัตเวีย เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2547 รัฐมนตรี Pabriks สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Aarhus ประเทศเดนมาร์ก เมื่อปี 2539 ก่อนหน้านี้ รัฐมนตรี Pabriks เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองสำคัญ ๆ เช่น ประธานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ รัฐสภาลัตเวีย และเลขานุการกิจการรัฐสภา กระทรวงการต่างประเทศ เป็นต้น
 
==== การเข้าร่วมองค์การในภูมิภาค ====
ประเทศลัตเวียได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การในภูมิภาคดังนี้
 
เส้น 185 ⟶ 154:
# CBSS
 
==== ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับประเทศไทย ====
==== ความสัมพันธ์ทางการทูต ====
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|ลัตเวีย – ไทย|ลัตเวีย|ไทย|map=Latvia Thailand Locator.png}}
* การเมือง
ลัตเวียพร้อมที่จะขยายความร่วมมือกับไทยในทุก ๆ ด้าน ทั้งในกรอบทวิภาคีและกรอบพหุภาคี ในด้านความสัมพันธ์ทางการทูต ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นโดยมีการแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างผู้นำของทั้งสองประเทศอย่างสม่ำเสมอในโอกาสสำคัญๆ อาทิเช่น การเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีของลัตเวีย เป็นต้น นอกจากนี้ ทั้งสองประเทศยังได้สนับสนุนการดำเนินงานในกรอบเวทีการเมืองประเทศระหว่างกัน โดยเฉพาะการให้ความสนับสนุนของลัตเวียต่อผู้สมัครของไทยในองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
 
* การทูต
ไทยประกาศรับรองรัฐลัตเวียเมื่อวันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2534]] พร้อมกับการประกาศรับรองรัฐเอสโตเนีย และลิทัวเนีย ต่อมาเมื่อวันที่ [[19 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2535]] ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการให้ไทยดำเนินการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับลัตเวีย และให้มีการแลกเปลี่ยนผู้แทนทางการทูต ในระดับเอกอัครราชทูตระหว่างกัน โดยให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุง[[สตอกโฮล์ม]] มีเขตอาณาครอบคลุม[[ฟินแลนด์]] ลัตเวียและเอสโตเนีย โดยนายสุจินดา ยงสุนทรเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม ได้เดินทางไปยื่นพระราชสาส์นตราตั้งเป็นเอกอัครราชทูตคนแรกประจำลัตเวีย เมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2537]] และต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2544]]เห็นชอบให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออลโล มีเขตอาณาครอบคลุมลัตเวียแทนสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม และปัจจุบันเอกอัครราชทูต ณ กรุง[[ออสโล]] เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำลัตเวีย อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย สำหรับ ลัตเวียยังมิได้ตั้งสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทย แต่ได้จัดตั้ง[[สถานกงสุล]]กิตติมศักดิ์ประจำประเทศไทย โดยมีนายประสงค์ จงรัตนากุล ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ลัตเวียประจำประเทศไทยตั้งแต่วันที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]]
 
==== ความสัมพันธ์ทางการเมือง ====
* การค้าและเศรษฐกิจ
ลัตเวียพร้อมที่จะขยายความร่วมมือกับไทยในทุก ๆ ด้าน ทั้งในกรอบทวิภาคีและกรอบพหุภาคี ในด้านความสัมพันธ์ทางการทูต ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นโดยมีการแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างผู้นำของทั้งสองประเทศอย่างสม่ำเสมอในโอกาสสำคัญๆ อาทิเช่น การเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีของลัตเวีย เป็นต้น นอกจากนี้ ทั้งสองประเทศยังได้สนับสนุนการดำเนินงานในกรอบเวทีการเมืองประเทศระหว่างกัน โดยเฉพาะการให้ความสนับสนุนของลัตเวียต่อผู้สมัครของไทยในองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
 
==== ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้า ====
ลัตเวียตระหนักถึงความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของไทยในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะขีดความสามารถในการส่งเสริมการท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี ลัตเวียได้มองไทยโดยเปรียบเทียบกับบางประเทศในเอเชียในเรื่องการพัฒนาทางเศรษฐกิจและผลประโยชน์ทางการค้า เช่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่นและจีน ฝ่ายลัตเวียเสนอตัวที่จะเป็นประตูการค้าให้ไทยสำหรับการค้าขายกับรัสเซีย และกลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช เนื่องจากสภาพที่ตั้งของประเทศมีความคุ้นเคยกับวิธีการค้าและรู้จักอุปนิสัยของคนรัสเซีย อีกทั้งมีท่าเรือปลอดน้ำแข็งอยู่ด้วย นอกจากนี้ ภาวะการเงินของลัตเวียก็เริ่มมีเสถียรภาพขึ้น การโอนเงินตราเข้าออก สามารถกระทำได้โดยมีข้อจำกัดน้อยมาก ส่วนระบบธนาคารอาจจะมีจำนวนมากเกินไป แต่การแข่งขันก็เป็นไปโดยเสรีและเชื่อว่าจำนวนธนาคารซึ่งมีอยู่มากเกินไปในขณะนี้จะลดลงเรื่อย ๆ
 
เส้น 201 ⟶ 169:
สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย คือ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ผลไม้กระป๋องและแปรรูป อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนต์ สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ สัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ผลิตภัณฑ์ไม้และไม้แปรรูป เป็นต้น
 
==== การท่องเที่ยวของชาวลัตเวียในประเทศไทย ====
* การศึกษาและวิชาการ
{{โครง-ส่วน}}
 
* วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
ชาวลัตเวียเริ่มมาท่องเที่ยวประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ได้แก่ [[กรุงเทพฯ]] [[พัทยา]] [[ภูเก็ต]] [[เกาะสมุย]] ระหว่างปี 2537 - 2539 บริษัทนำเที่ยวของลัตเวียได้จัดเที่ยวบินเช่าเหมาลำมายังประเทศไทยหลายเที่ยวบิน โดยมีสถิติดังนี้
 
เส้น 212 ⟶ 177:
 
นอกจากนี้ เพื่อเป็นการแผยแพร่ภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ประเทศไทยให้ชาว ลัตเวียมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล ซึ่งมีเขตอาณาครอบคลุมลัตเวียได้จัดโครงการนำคณะสื่อมวลชนลัตเวียเดินทางมาเยือนไทย ระหว่างวันที่ 8 - 16 มิถุนายน 2546
 
==== การแลกเปลี่ยนการเยือน ====
 
===== ฝ่ายไทย =====
เส้น 222 ⟶ 189:
# วันที่ 11-19 กุมภาพันธ์ 2543 (ค.ศ.2000) นาย Vladimirs Makarovs รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจลัตเวีย เยือนไทย เพื่อเข้าร่วมประชุม UNCTAD ครั้งที่ 10 ระหว่าง วันที่ 11-19 กุมภาพันธ์ 2543 ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนลัตเวีย
 
=== กองทัพ ===
{{บทความหลัก|กองทัพลัตเวีย}}
 
=== กองทัพบก ===
{{บทความหลัก|กองทัพบกลัตเวีย}}
 
=== กองทัพอากาศ ===
{{บทความหลัก|กองทัพอากาศลัตเวีย}}
 
=== กองทัพเรือ ===
{{บทความหลัก|กองทัพเรือลัตเวีย}}
 
=== กองกำลังกึ่งทหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจการค้า ==
เส้น 247 ⟶ 226:
* ขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (Global Competitiveness Index) ในปี 2549 อยู่ในลำดับที่ 36 (ปี 2548 ลำดับที่ 39)
 
== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ==
=== การท่องเที่ยว ===
{{โครงส่วน}}
{{บทความหลัก|การท่องเที่ยวในสโลวาเกีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== คมนาคม และ โทรคมนาคม ==
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
{{โครงส่วน}}
=== ทรัพยากร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประชากร ==
=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== คมนาคม และ โทรคมนาคม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในประเทศอิตาลี}}
* มีมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐบาลคือ[[มหาวิทยาลัยลัตเวีย]] (อันดับ 1 ของประเทศและอันดับ 1016 ของโลก) และมหาวิทยาลัยชั้นนำของเอกชนคือ[[มหาวิทยาลัยตูรีบา]] (อันดับ 7 ของประเทศและอันดับ 6084 ของโลก) <ref>[http://www.webometrics.info/en/Europe/Latvia%20 Ranking Web of University 2016]</ref><ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1079829662103806 หรรษาลัตเวีย]</ref>
 
=== สาธารณสุข ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประชากรศาสตร์ ==
* ประชากร 2.3 ล้านคน (ปี 2546) อันดับที่ 142 ของโลก
* ประชากร 1 ใน 3 อาศัยอยู่ในเมืองหลวง
เส้น 280 ⟶ 244:
 
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศลัตเวีย}}
 
=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในประเทศลัตเวีย}}
ภาษาลัตเวียแทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในยุโรปเลยเนื่องจากมีต้นกำเนิดมาจากภาษาสันสกฤต (เพราะฉะนั้นจะมีบางคำที่คล้ายๆกันในภาษาไทย (เลขนับ) แต่บริบทการใช้แตกต่างกันมาก เช่น คำในภาษาลัตเวีย prāt (รู้) จะใกล้เคียงกับคำว่า ปราชญ์ juma (แฝด) จะใกล้เคียงกับคำว่า ยม) อย่างไรก็ตามการพิมพ์ตัวอักษรลัตเวียจะไม่ใช้อักษร Q W X Y มีอักขระพิเศษคือ ā ē ī ū č ģ ķ ļ ņ š ž<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>
 
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|ลัตเวียในโอลิมปิก|ลัตเวียในพาราลิมปิก}}
 
==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก|สมาพันธ์ฟุตบอลลัตเวีย|ฟุตบอลทีมชาติลัตเวีย|ฟุตซอลทีมชาติลัตเวีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การศึกษา ===
==== วอลเลย์บอล ====
* มีมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐบาลคือ[[มหาวิทยาลัยลัตเวีย]] (อันดับ 1 ของประเทศและอันดับ 1016 ของโลก) และมหาวิทยาลัยชั้นนำของเอกชนคือ[[มหาวิทยาลัยตูรีบา]] (อันดับ 7 ของประเทศและอันดับ 6084 ของโลก) <ref>[http://www.webometrics.info/en/Europe/Latvia%20 Ranking Web of University 2016]</ref><ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1079829662103806 หรรษาลัตเวีย]</ref>
{{บทความหลัก|สมาพันธ์วอลเลย์บอลลัตเวีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
==== มวยสากลสาธารสุข ====
{{โครงส่วน}}
{{บทความหลัก|สมาพันธ์มวยสากลลัตเวีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== วัฒนธรรม ==
เส้น 305 ⟶ 256:
 
=== สถาปัตยกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ภาษา ===
ภาษาลัตเวียแทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในยุโรปเลยเนื่องจากมีต้นกำเนิดมาจากภาษาสันสกฤต (เพราะฉะนั้นจะมีบางคำที่คล้ายๆกันในภาษาไทย (เลขนับ) แต่บริบทการใช้แตกต่างกันมาก เช่น คำในภาษาลัตเวีย prāt (รู้) จะใกล้เคียงกับคำว่า ปราชญ์ juma (แฝด) จะใกล้เคียงกับคำว่า ยม) อย่างไรก็ตามการพิมพ์ตัวอักษรลัตเวียจะไม่ใช้อักษร Q W X Y มีอักขระพิเศษคือ ā ē ī ū č ģ ķ ļ ņ š ž<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>
 
=== ดนตรี ===
{{โครงส่วน}}
{{บทความหลัก|ดนตรีลัตเวีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กีฬา ===
=== สื่อสารมวลชน ===
{{โครงส่วน}}
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศลัตเวีย}}
 
=== วันหยุด ===
{{โครงส่วน}}
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของลัตเวีย}}
 
== ดูเพิ่ม ==
 
== อ้างอิง ==
เส้น 373 ⟶ 324:
*{{osmrelation-inline|72594}}
 
{{Navboxes
|list1=
{{ประเทศลัตเวีย}}
{{ยุโรป}}
{{อียู}}
{{นาโต}}
}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศลัตเวีย]]