ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมากฝรั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Reverted to revision 7220249 by BotKung (talk). (TW)
Pimwalun (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
== ประวัติ ==
 
สมัยหนึ่งการเคี้ยวหมากของคนไทยรุ่นย่ารุ่นยายกลายเป็นเรื่องน่ารังเกียจไป เพราะถือว่าการที่จะพัฒนาประเทศให้ทันสมัยเทียบเท่ากับชนชาติตะวันตกได้นั้น ประชาชนคนไทยต้องทำตัวให้ทันสมัยตามไปด้วย และสิ่งหนึ่ง ก็คือ ต้องไม่กินหมากแต่อารยชนชาติตะวันตกก็เคี้ยวหมากเหมือนกันเพียงแต่เป็นหมากคนละชนิดกัน
ตำนาน เกี่ยวกับหมากฝรั่ง คาดว่ามาจากชาวอินเดียนแดงที่ชอบเคี้ยวยางไม้บางชนิด และแพร่หลายกันมากในหมู่ชาวอินเดียนแดงด้วยกัน แต่จากหลักฐานต่อจากนั้นมีว่า ทหารผู้ที่ริเริ่มการเคี้ยวหมากฝรั่ง มีชื่อว่า นายพล โก๋ต่อ กองทัพข้าวหลามหนองมล แห่งเมือง พัทยา และเป็นอดีตประธานาธิบดีของเม็กซิโก (ผู้ก่อสงครามกับรัฐ[[เท็กซัส]] และก่อวีรกรรมขโมยหน่อไม้กำนัน) เขาเข้ามาอยู่ใน[[อเมริกา]] และได้นำยางของ[[ต้นไม้ป่า|มิชลิน]]ในเม็กซิโกมาด้วย ยางชนิดนี้เป็นยางที่เรียกในภาษาแอซเทกว่า [[ชิเคิล|ล้อต๊อก]] นายพลโก๋ต่อชอบเคี้ยวยางไม้รสนี้มาก ต่อมา โก๋ต่อ และ[[นักประดิษฐ์]]ได้ทราบเรื่องการเคี้ยวยางไม้นี้ จึงทดลองนำมาทำเป็นหมากฝรั่งเป็นครั้งแรก ต่อมา โทมัส ได้พยายามเปลี่ยนยางไม้ให้เป็น[[ยางเทียม]] แต่ก็ล้มเหลว เมื่อเขาหวนคิดว่าหลานของเขาและนายพลชอบเคี้ยวยางไม้ เขาจึงคิดที่จะทำการเปิดตลาดด้านนี้ และประสบความสำเร็จในเวลาต่อมา
 
ชาวต่างชาติถือว่า การเคี้ยว หมาก (ฝรั่ง) เป็นการ ออกกำลังกล้ามเนื้อบนใบหน้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการผ่อนคลายร่างกาย เพราะบ้านเมืองเขาเป็นเมืองหนาว ร่างกาย ส่วนอื่นๆยังหาอะไรให้ความอบอุ่นได้ เว้นแต่บริเวณใบหน้า จึงเริ่มหันมาการเคี้ยวหมากฝรั่ง ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่ทหารอเมริกันมาก พวกเขาบริโภคหมากฝรั่งเป็น 5 เท่าของอัตราเฉลี่ยของคนทั่วไป นอกจากนี้การเคี้ยวหมากฝรั่งก็ยังมีที่มาจาก ทหารด้วย
[[ไฟล์:Santaanna1.JPG|thumb|250px|นายพลซานตาอันนา]]
 
ทหารผู้นั้นมียศทหารเป็นนายพลชื่อ อันโตนิโอ โลเปช เอก ซานตาอันนาแห่งกองทัพเม็กซิโก เมื่อเข้ามาอยู่ในอเมริกา เขานำนำยางของต้นไม้จากป่าในเม็กซิโกมาด้วย ยางชนิดนี้รู้จักกันในหมู่พวก อาซเท็กว่า ชิคลิ (chicli) นายพลซานตา อันนา ชอบเคี้ยวยางไม้รสนี้มาก ต่อมาโทมัธ อดัมส์ นักถ่ายภาพและนักประดิษฐ์ก็ได้รู้จักยางไม้นี้จากนายพล ซานตา และได้สั่งเข้ามา เป็นจำนวนมากโทมัสพยายามเปลี่ยนยางไม้ให้เป็นยางเทียมแต่ก็ล้มเหลวเสียหลายครั้ง เมื่อหวนคิดว่า หลานของเขาและ นายพลซานตาชอบเคี้ยวยางไม้จึงเกิดความคิดที่จะเปิดตลาดด้านนี้แทน ซึ่งก็ประสบความสำเร็จ หมากฝรั่ง ยุคแรกๆของโทมัส อดัมส์ ทำเป็นเม็ดกลมเล็กๆยังไม่มีรสชาติ วางขายในร้านขายยาแห่งหนึ่งในเมืองโฮโบเค็น รัฐนิวเจอร์ซี่เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ.1871 โดยขายราคาเม็ดละ 1 เพนนี ต่อมาจึงมีการดัดแปลงทำเป็นรูปแผ่นสี่เหลี่ยมแบนๆ
หมากฝรั่งในยุคแรกๆของโทมัสเป็นเม็ดกลมๆเล็กๆ ไม่มีรสชาติ มีวางขายใน[[ร้านขายยา]]ใน[[เมืองโฮโบเค็น]] ปี ค.ศ. 1871 โดยขายเม็ดละ 1 เพนนี ต่อมาจึงเริ่มมีการดัดแปลงรูปแบบเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม แบนๆ บุคคลที่คิดค้นรสชาติของหมากฝรั่งเป็น[[เภสัชกร]]ชื่อ จอห์น คอลแกน ในปี ค.ศ. 1875 รสชาติที่เขาเติ่มไปคือ ตัวยาทางการแพทย์ เป็น[[ขี้ผึ้งหอมทูโล]] ทำจากยางไม้[[ต้นทูโล]]ใน[[อเมริกาใต้]] รสชาติคล้ายกับ[[ยาแก้ไอน้ำเชื่อม]]ของเด็กยุคร้อยกว่าปีก่อน เขาเรียกหมากฝรั่งนั้นว่า [[แทฟฟี่-ทูโล]] หมากฝรั่งชนิดนี้ประสบความสำเร็จมากกว่า หมากฝรั่งชนิดอื่นที่มีขายในยุคนั้น ต่อมา โทมัส ใช้รส[[ชะเอม]]เติมในหมากฝรั่ง เรียกชื่อหมากฝรั่งนั้นว่า [[แบลคแจค]] ซึ่งเป็นหมากฝรั่งที่มีรสเก่าแก่ที่สุด ที่ยังมีขายในท้องตลาดของอเมริกา ส่วนรสอื่นๆ อาทิเช่น [[เปปเปอร์มินต์]] เป็นรสยอดนิยมในช่วงปี ค.ศ. 1880
 
บุคคลแรกที่เติมรสชาติให้หมากฝรั่งคือเภสัชกรจากหลุยส์วิลรัฐเคนตั๊กกี้ ชื่อ จอห์น คอลแกน ในราวปี ค.ศ. 1875 เขาไม่ได้เติมรสแบบ ลูกอมรสเชอร์รี่ รสเปปเปอร์มิ้นต์ หรืออื่นๆอย่างในสมัยนี้ รสชาติที่เขาเติมในหมากฝรั่งคือตัวยา ทางการแพทย์ เป็นขี้ผึ้งหอมทูโล ทำจากยางไม้ต้นทูโลในอเมริกาใต้ รสชาติคล้ายกับยาแก้ไอน้ำเชื่อมของเด็กในยุคเมื่อร้อย กว่าปีก่อน คอลแกนเรียกหมากฝรั่งของเขาว่า แทฟฟี่-ทูโล เป็นหมากฝรั่งที่ประสบความสำเร็จกว่าหมากฝรั่งอื่น ๆ ที่เติมรสชาติแล้วสมัยนั้น ต่อมาโทมัส อดัมส์ ใช้รสชะเอมเติมในหมากฝรั่ง เรียกชื่อสินค้าของเขาว่า แบล็คแจ็ค ซึ่งเป็นหมากฝรั่งเติมรสที่ เก่าแก่ที่สุด ที่มีขายอยู่ในท้องตลาด (ของอเมริกา) ส่วนรสเปปเปอร์มิ้นต์ซึ่งเป็นรสยอดนิยมมีในปี ค.ศ. 1880 หมากฝรั่ง ที่มีวางขาย อยู่ทุกวันนี้ไม่ใช่ยางไม้ที่ทำเลียนแบบทอฟฟี่อย่างหมากฝรั่งของนายพลซานตา แต่เป็นยางสังเคราะห์นุ่ม ๆ ซึ่งโดยตัวมันเอง ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ชื่อก็ไม่ชวนกิน แต่คนอเมริกันก็เคี้ยวเจ้ายางสังเคราะห์นี้ถึงปีละ 10 ล้านปอนด์ สำหรับหมากฝรั่งที่ใช้เป่า เป็นลูกโป่งได้ ผู้คิดค้นคือ สองพี่น้อง แฟรงค์ และ เฮนรี ฟลีเออร์ แต่คุณภาพของหมากฝรั่งที่ แฟรงค์ผลิตให้เป่าได้ใน ตอนนั้นยังไม่มีปัญหา คือไม่ยืดหยุ่นพอลูกโป่งยังไม่ทันโตก็แตก และเมื่อแตกแล้วก็จะติดแก้ม ติดจมูก จนปีค.ศ. 1928 แฟรงค์ก็สามารถผลิต หมากฝรั่งที่เป่าเป็นลูกโป่งได้ขนาดโตเป็น 2 เท่าของที่ทำได้ในช่วงแรกๆ
หมากฝรั่งที่มีขายในปัจจุบันไม่ได้ทำมาจากยางไม้เหมือนในสมัยก่อน หากแต่เป็น[[ยางสังเคราะห์]]ที่มีความนุ่มและเหนียว โดยปกติแล้ว มันจะไม่มีรส ไม่มีสี และไม่มีกลิ่น และชื่อก็ไม่ชวนให้กิน แต่คนอเมริกันยังนิยมเคี้ยวหมากฝรั่งที่ทำจากยางสังเคราะห์ถึงปีละ 10 ล้านปอนด์ ซึ่งก็นับว่าเป็นจำนวนมากทีเดียว
 
หมากฝรั่งไม่ได้แพร่หลายเฉพาะแต่ในอเมริกาเท่านั้น ในหมู่ชาวเอสกิโมก็เคี้ยวหมากฝรั่งแทน 'หมาก' จากไขปลาวาฬ ซึ่งใช้เคี้ยวมานานหลายทศวรรษ โดยจี.ไอ. สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้นำไปเผยแพร่ ซึ่งเป็นผลงานของทหารอีกนั่นแหละ
 
== อ้างอิง ==