ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงโลกนิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
|คำประพันธ์ = [[โคลงสี่สุภาพ]]
|ความยาว = 408 บท (สมุดไทย) <br> 435 บท (จารึกวัดโพธิ์ฯ) <br> 911 บท (ฉบับหอสมุดแห่งชาติ) <br> 902 บท (ฉบับกรมวิชาการ)
|สมัย = [[รัตนโกสินทร์]]|[[ต้นรัตนโกสินทร์]]
|ปี = [[พ.ศ. 2374|พ.ศ. 2374]]
|ชื่ออื่น = ประชุมโคลงโลกนิติ
บรรทัด 18:
==ประวัติ==
* '''สำนวนเก่า'''
โคลงโลกนิติสำนวนเก่าเชื่อกันว่ามีมาตั้งแต่ครั้ง[[กรุงศรีอยุธยา]] โดย[[นักปราชญ์]]ในสมัยนั้นได้คัดเลือกหา[[คาถา]]สุภาษิต[[ภาษาบาลี]]และ[[ภาษาสันสกฤต]]ที่ปรากฏใน[[คัมภีร์]]ต่างๆ เช่น [[คัมภีร์โลกนิติ]], [[คัมภีร์ธรรมนีติ]], [[คัมภีร์ราชนีติ]], [[หิโตปเทศ]], [[ธรรมบท]] และ [[พระไตรปิฎก]] เป็นต้น มาถอดความแล้วเรียบเรียงแต่งเป็นโคลงโลกนิติ
 
* '''ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนฯ'''
ต่อมาในสมัย[[รัตนโกสินทร์]] เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] (วัดโพธิ์ฯ) ในปี [[พ.ศ. 2374|พ.ศ. 2374]] ก็มีดำริให้จารึกวิชาการสาขาต่างๆต่าง ๆ ไว้บนแผ่นศิลาที่ประดับไว้ตามเสาหรือกำแพงพระวิหาร ในการนี้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอกรมขุนเดชอดิศร (ต่อมาได้ดำรงพระยศเป็น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร]]) ทรงชำระโคลงโลกนิติของสำนวนเก่าให้ประณีตไพเราะยิ่งขึ้น เพื่อจารึกไว้ในคราวเดียวกัน
 
จำนวนโคลงโลกนิติที่ปรากฏต้นฉบับในสมุดไทยมีทั้งสิ้น 408 บท แต่ที่จารึกไว้ในวัดพระเชตุพนฯ แผ่นละบท มี 435 แผ่น (รวมโคลงนำ 2 บท) คาดว่ามีโคลงที่แต่งเพิ่มเติมเพื่อให้พอดีกับพื้นที่จารึก