ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสำส่อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแม่แบบ
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงค์
บรรทัด 2:
 
พฤติกรรมทางเพศใดที่ถือว่าเป็นสิ่งที่สำส่อนแตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม เช่นเดียวกับความแพร่หลายของความสำส่อนทางเพศ มาตรฐานที่แตกต่างกันมักใช้กับเพศและสถานะทางแพ่งต่างๆ นัก[[คตินิยมสิทธิสตรี]]โต้เถียงกันอย่างมีนัยสำคัญ ถึงความ[[สองมาตรฐาน]]ที่มีอยู่ระหว่างวิธีการที่ชายและหญิงได้รับการตัดสินสำหรับความสำส่อนทางเพศ
ในอดีต [[การเหมารวม|สามัญทัศน์]]ของผู้หญิงสำส่อนมีแนวโน้มที่จะอยู่ในแง่ลบ เช่น "หญิงมั่วโลกีย์" หรือ "หญิงแพศยา" ในขณะที่ของผู้ชายมีความหลากหลายกว่า บางก็แสดงความเห็นชอบ เช่น "ผู้ชายที่เก่งในการผลิตลูก" หรือ "ผู้เล่น" ในขณะที่บางคำหมายถึง ความแตกต่างจากทางสังคม เช่น "คนเจ้าชู้" หรือ "คนหัวงู"<ref>{{cite journal|last1=Marks|first1=Michael|last2=Fraley|first2=R.|year=2005|title=The Sexual Double Standard: Fact or Fiction?|url=|journal=Sex Roles|volume=52|issue=3-4|pages=175–186|doi=10.1007/s11199-005-1293-5}}</ref> อย่างไรก็ตามการศึกษาในภายหลังแสดงหลักฐานถึงความมี[[สองมาตรฐาน]]ระหว่างชายและหญิง<ref>Erin A. Vogel (2012). [http://digitalcommons.iwu.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1155&context=psych_honproj "Attachment Theory and the Sexual Double Standard"]. Illinois Wesleyan University Honors Project.</ref><ref>{{cite web|url=http://www.scienceofrelationships.com/home/2013/11/21/would-you-go-to-bed-with-me-tonight-stigma-and-the-sexual-do.html|title="Would You Go To Bed With Me Tonight?": Stigma and the Sexual Double Standard - - - Science of Relationships|work=scienceofrelationships.com}}</ref><ref>{{cite web|url=https://spsptalks.wordpress.com/2013/06/20/motives-for-the-sexual-double-standard-a-test-of-female-control-theory/|title=Motives for the Sexual Double Standard: A Test of Female Control Theory|work=SPSP}}</ref>
 
=== การศึกษาทั่วโลก ===
ในปีพ. ศ. 2551 การศึกษาในมหาวิทยาลัยของประเทศ[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]เกี่ยวกับความสำส่อนทางเพศพบว่าคน[[ฟินแลนด์]]มีคู่นอนเยอะที่สุดในโลกอุตสาหกรรมและชาว[[อังกฤษ]]มีจำนวนมากที่สุดในบรรดาประเทศอุตสาหกรรมตะวันตก การศึกษาวัดทัศนคติต่อเพศสัมพันธ์เป็นครั้งคราว [[คู่นอนคืนเดียว]] และจำนวนคู่นอนทั้งหมด<ref name="Waite2">{{cite news|url=http://women.timesonline.co.uk/tol/life_and_style/women/relationships/article5257166.ece|work=The Times|location=London|title=Britain on top in casual sex league|first=Roger|last=Waite|date=2008-11-30|accessdate=2010-05-22}}</ref><ref name="telegraph.co.uk2">{{cite news|url=http://www.telegraph.co.uk/health/healthnews/3536598/Britain-is-among-casual-sex-capitals-of-the-Western-world-research-claims.html|work=[[The Daily Telegraph]]|location=London|title=Britain is among casual sex capitals of the Western world, research claims|first1=Martin|last1=Beckford|first2=Alastair|last2=Jamieson|date=2008-11-30|accessdate=2010-05-22}}</ref><ref name="upi.com2">{{cite web|url=http://www.upi.com/Health_News/2008/11/30/British_top_promiscuity_study/UPI-98281228072500/|title=British top promiscuity study|work=UPI}}</ref>การสำรวจทั่วประเทศใน[[สหราชอาณาจักร]]ประจำปี พ.ศ. 2557 ระบุว่าลิเวอร์พูลเป็นเมืองที่สำส่อนมากที่สุดของประเทศ<ref>{{cite web|title=Liverpool named UK’s most promiscuous city|url=http://metro.co.uk/2014/01/08/liverpool-named-uks-most-promiscuous-city-in-one-night-stand-poll-4254176/|website=themetro.co.uk|publisher=Mark Molloy}}</ref>
 
ตำแหน่งของสหราชอาณาจักรในดัชนีระหว่างประเทศ "อาจเชื่อมโยงกับการยอมรับทางสังคมที่เพิ่มขึ้นของความสำส่อนในหมู่ผู้หญิงและผู้ชาย" การจัดอันดับของสหราชอาณาจักรได้รับการกล่าวถึงปัจจัยต่าง ๆ เช่นการลดลงของศีลธรรมทางศาสนาเกี่ยวกับเซ็กส์นอกการแต่งงาน การเติบโตของการจ่ายเงินเท่ากันและสิทธิอันเท่าเทียมกันสำหรับสตรีและบุรุษ และวัฒนธรรมป๊อปที่สงเสริมเสรีภาพทางเพศ