ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูนพิศ อมาตยกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
}}
 
'''ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล''' ([[4 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2480]] - ปัจจุบัน ) นักวิชาการสาขาดนตรีวิทยาเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/062/32.PDF และประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาวิทยาลัยราชสุดาเรื่อง มหาวิทยาลัยมหิดลแต่งตั้งราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนพิศทรัพย์ อมาตยกุลนพวงศ์ หรือณ อยุธยา ศาสตราจารย์เกียรติคุณยงยุทธ ยุทธวงศ์ นายแพทย์ศาสตราจารย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร)]</ref> เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวังนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา และเป็นมหาดเล็กของที่ปรึกษา[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอวิทยาลัยราชสุดา พระองค์เจ้าเหมวดีมหาวิทยาลัยมหิดล]] เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง
 
พูนพิศ อมาตยกุล หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวัง และเป็นมหาดเล็กของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี]] เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง
== การศึกษากับรางวัล ==
 
== การศึกษากับรางวัล ==
* จบแพทย์จากศิริราชเมื่อปี พุทธศักราช 2505
* รับใบประกาศนียบัตร์ชั้นสูงหลังปริญญา สาขาหู คอ จมูก Univ.of Pennsylvania ในปีพุทธศักราช 2508
เส้น 57 ⟶ 58:
 
== แรกเริ่ม ==
 
เรียนดนตรีไทยกับนาย[[เทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล]] เรียนขับร้องจากครู[[แช่มช้อย ดุริยพันธ์]] อาจารย์[[เจริญใจ สุนทรวาทิน]] คุณหญิง[[ไพฑูรย์ กิตติวรรณ]] ครู[[สุดจิตต์ ดุริยประณีต]] และครู[[สุรางค์ ดุริยพันธ์]] มีความสามารถในการขับร้องเพลงไทยและประพันธ์บทร้องเพลงไทย เป็นนักจัดรายการเพลงทางวิทยุและโทรทัศน์ที่สนใจการเก็บรักษาผลงานที่ออกอากาศ รวบรวมลงานและรักษาไว้ในห้องสมุดดนตรีเป็นจำนวนมากกว่า 1.600 รายการ ต้นฉบับรายการวิทยุเหล่านี้ยังรักษาไว้เพื่อการอ้างอิง ในห้องสมุดดนตรีสมเด็จพระเทพรัตน์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ศาลายา และที่หน่วยโสตทัศน์ หอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ยังเป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับดนตรี และมีบทความเก็บไว้เพื่ออ้างอิงได้ มากกว่า 900 เรื่อง เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา (Musicologist) สอนวิชาดนตรีวิทยาควบคู่กับวิชาแพทยศาสตร์ตลอดเวลากว่า 30 ปี ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นศาสตราจารย์สาขาดนตรีเป็นคนที่ 3 ของประเทศไทย และเป็นคนแรกของมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปีพุทธศักราช 2540 เขียนหนังสือไว้หลายเล่ม อาทิ สยามสังคีต ลำนำสยาม หนังสือรวมประวัติสตรีนักร้องเพลงไทยและนักระนาดเอกของไทย รายการวิทยุที่ผลิตแล้ว ยังเก็บรักษาไว้ในห้องสมุดดนตรี อาทิ รายการพบครูดนตรีไทย สยามสังคีต เพลงไทยจากมหาวิทยาลัยมหิดล สังคีตภิรมย์ เพลงไทยสากลจากอดีต ฯลฯ
 
บรรทัด 98:
 
== รางวัลเกียรติยศ ==
 
* รางวัลหนังสือสารคดียอดเยี่ยม "สังคีตสยาม" พ.ศ. 2529 จาองค์การยูเนสโก และ กระทรวงศึกษาธิการ
* รางวัลสังข์เงิน จากการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ดีเด่น ในปีพุทธศักราช 2531
เส้น 114 ⟶ 113:
* รางวัลมหิดลวิทยาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 1 มีนาคม พุทธศักราช 2545
* รางวัลสุกรี เจริญสุข สาขานักส่งเสริมดนตรี ประจำปีพุทธศักราช 2552 รางวัลนี้เป็นรางวัลภายใต้โครงการเชิดชูบุคคลดีเด่นสาขาดนตรี โดยมูลนิธิตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมูลนิธิสุกรี เจริญสุข เป็นรางวัลที่มอบแด่บุคคลที่ปฏิบัติงานและมีผลงานดีเด่นเพื่อสังคมในสาขาส่งเสริมดนตรี
* ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ ==
บรรทัด 125:
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่{{เกิดในปี พ.ศ. |2480]]}}
[[หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินจัดวาง]]
เส้น 135 ⟶ 136:
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยมหิดล]]
 
{{เกิดปี|2480}}
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]