ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาแบบไอออนิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Denniss (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
10. stereobate = ฐานแรก<br>]]
 
'''เสาแบบไอออนิก''' ({{lang-elen|ΙωνικόςIonic ρυθμόςorder}},; {{lang-enel|IonicΙωνικός orderρυθμός}}) เป็นลักษณะทาง[[สถาปัตยกรรม]] หนึ่งในสามของ[[เสาแบบคลาสสิก]] ซึ่งนำมาจากกรีกและโรมันโบราณ อีกสองแบบได้แก่ [[เสาแบบดอริก|ดอริก (Doric order)]] และ[[เสาแบบคอรินเทียน|คอรินเทียน (Corinthian order)]] (นอกจากนี้ยังมีเสาอีกสองแบบที่สำคัญน้อยกว่า ได้แก่ [[เสาแบบทัสกัน|ทัสกัน (Tuscan order)]] และอีกแบบหนึ่งซึ่งเป็นการเพิ่มเติมและผสมผสานรายละเอียดของแบบคอรินเทียนกับแบบอื่นๆอื่น ๆ มากเข้าไปอีก เรียกว่า [[เสาแบบคอมโพซิต|คอมโพซิต (Composite)]] ซึ่งถูกสร้างขึ้นช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยสถาปนิกชาวอิตาเลียนอิตาลี)
 
เสาแบบไอออนิกมีลักษณะเสาเรียวสง่า แผ่นหินบนเสาเป็นรูปโค้งย้อยม้วนลงมาทั้งสองข้าง เหนือขึ้นไปเป็นรูปฐาน 3 ชั้น บริเวณเสา (Shaftshaft) ถูกรองรับด้วยฐานใต้เสา (Stylobatestylobate) ซึ่งเป็นคนละชิ้นแยกจากกัน บริเวณยอดหรือหัวเสา (Capitalcapital) มักจะตกแต่งด้วยลายประดับรูปไข่ (egg-and-dart)
 
{{clear}}