ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 406:
* '''ฐานข้อมูลศูนย์เอกสารประเทศไทย (Thailand Information Center Database)''' เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลเอกสาร บทความ วิทยานิพนธ์และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย เปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าใช้บริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยสามารถเข้าถึงต้นฉบับเอกสารทางวิชาการที่ได้ศึกษาแง่มุมต่าง ๆ ของประเทศไทย และสามารถเข้าสืบค้นด้วยตนเองที่อาคารมหาธีรราชานุสรณ์
 
* '''จุฬาวิทยานุกรม (Chulapedia)''' จุฬาวิทยานุกรมเป็นระบบสารานุกรมออนไลน์ สามารถสืบค้นเนื้อหาด้วยคำสำคัญ (Keyword) ซึ่งแก้ไขพัฒนาบทความโดยคณาจารย์และนักวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเปิดให้ประชาชนใช้บริการสืบค้นได้แต่ไม่สามารถร่วมแก้ไขพัฒนาบทความได้<ref>[http://www.chula.ac.th/research/chulapedia ข้อมูลเบื้องต้นของจุฬาฯ วิทยานุกรม,2558]</ref><br />
 
ในส่วนของ* '''ศูนย์พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี''' สำนักงานวิทยทรัพยากรยังมีหน้าที่ผลิตสื่อวิดีทัศน์ สื่อผสมรูปแบบสื่อใหม่ สื่อภาพถ่ายดิจิทัล สื่อเสียง สื่อกราฟิก ให้แก่มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ศูนย์พัฒนาสื่อยังมีหน่วยผลิตสื่อเคลื่อนที่ (Mobile Unit) เพื่อไปบันทึกกิจกรรมตามสถานที่ต่าง ๆ และส่งสัญญาณภาพและเสียงนำมาถ่ายทอดรายการ ผ่านระบบเครือข่าย ทำให้ผู้ชมสามารถรับชมรายการสำคัญ ๆ ได้ทุกที่ที่มีสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยไม่จำกัดสถานที่ หรือสามารถรับชมผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่าง ๆ (Mobile Device) ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เช่น [[พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]] งานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 42 และงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 16 หรืองานวิศิษฏศิลปินสรรพศิลป์สโมสร เป็นต้น<ref>[http://www.car.chula.ac.th/topic/mediaproduction บริการผลิตสื่อ. สำนักงานวิทยทรัพยากร,2558]</ref>
 
=== ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ===
บรรทัด 876:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดให้มี[[พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]]ขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2473 ณ ตึกบัญชาการ (อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ ในปัจจุบัน) โดย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย [[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] มาพระราชทานปริญญาบัตรแก่เวชบัณฑิต (แพทยศาสตรบัณฑิต)<ref>ราชกิจจานุเบกษา.“ ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง เทียบชั้นปริญญาเวชบัณฑิต หมายความเช่นเดียวกับปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต.” ''เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา.'' 2 มิถุนายน 2478. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/D/549.PDF (1 ธันวาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref> ของมหาวิทยาลัย ซึ่งนับได้ว่าเป็นพิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของประเทศไทย<ref>"พระบรมราโชวาท ในการพระราชทานประกาศนียบัตรแก่เวชบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ." ราชกิจจานุเบกษา. October 25, 1950. Accessed April 7, 2017. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/2803.PDF.</ref> ในการนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังได้ทูลเกล้าฯ ถวายฉลองพระองค์ครุยบัณฑิตพิเศษแด่พระองค์ด้วย<ref> [http://www.memocent.chula.ac.th/knowledge/kn01.html พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกแห่งกรุงสยาม]</ref><ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/2803.PDF พระบรมราโชวาท ในการพระราชทานประกาศนียบัตรแก่เวชบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 25 ตุลาคม พุทธศักราช 2473]</ref> หลังจากพิธีพระราชทานปริญญาบัตรในครั้งนั้นเสร็จสิ้นแล้ว สภามหาวิทยาลัยได้เสนอให้[[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงธรรมการ]]กราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตสงวนธรรมเนียมนี้ไว้ กล่าวคือ "ถือว่าการพระราชทานปริญญาบัตรเป็นการหน้าที่นั่ง หากเสด็จไม่ได้ก็จะเป็นการถวายปฏิญญาต่อพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ และรับพระราชทานปริญญาบัตรจากผู้แทนพระองค์" เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบก็พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่มหาวิทยาลัยกราบบังคมทูลขอ ดังนั้น พิธีพระราชทานปริญญาบัตรจึงเป็นธรรมเนียมที่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน<ref>[http://www.memocent.chula.ac.th/article/พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกแห่งกรุงสยาม/ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกแห่งกรุงสยาม], หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</ref>
[[ไฟล์:MahachulalongkornBuiltding ChulalongkornUniversity.jpg|left|thumb|250x250px|อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ สถานที่จัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของประเทศไทย]]
พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของประเทศนี้ นับว่าเป็นหมุดหมายสำคัญของพัฒนาการทางการศึกษาของประเทศไทย แขกผู้มีเกียรติระดับชาติและจากนานาอารยประเทศ [[เอกอัครราชทูต]] ผู้นำศาสนา [[มิชชันนารี]] ผู้แทนองค์กรระหว่างประเทศ ผู้แทนหน่วยงานรัฐบาลไทย ทหาร สื่อมวลชนไทยและนานาชาติทุกแขนงเดินทางมาร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีการสำคัญครั้งนี้ เพื่อแสดงความยินดีกับความเจริญวัฒนาของของสยามประเทศ<ref name=":19" />
 
ในรัชสมัย[[ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]] พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตร ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2489 ซึ่งเป็นการเสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครั้งแรกและครั้งเดียวของพระองค์<ref> [http://www.memocent.chula.ac.th/article/ก/ หอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]. เข้าถึงวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2559.</ref>