ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวทริโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
|publisher=[[Max Planck Gesellschaft]]
|accessdate=2012-03-27
}}</ref> และมีค่า[[สปิน (ฟิสิกส์)]]เท่ากับครึ่งจำนวนเต็ม นิวทริโน (ภาษาอิตาลีหมายถึง "สิ่งเป็นกลางตัวน้อย") ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย[[อักษรกรีก]]ว่า <math>\nu_{}^{}</math> (นิว) มวลของนิวทริโนมีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบกับอนุภาคย่อยอื่นอื่นๆ ๆ นิวทริโนและเป็นอนุภาคเพียงผู้สมัครที่ถูกชื้ชัดตัวชนิดเดียวเท่านั้นสำหรับที่รู้จักในขณะนี้ที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเป็น[[สสารมืด]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[สสารมืดร้อน]]<ref>{{cite journal|volume=72|number=17|year=1994|page= |title=Sterile neutrinos as dark matter|first1=Scott|last1=Dodelson|first2= Lawrence M. |last2=Widrow|url=http://journals.aps.org/prl/abstract/10.1103/PhysRevLett.72.17}}</ref>
 
นิวทริโนเป็น[[เลปตอน]] กลุ่มเดียวกับ[[อิเล็กตรอน]] [[มิวออน]] และ[[เทา (อนุภาค)]]ที่ แต่ไม่มีประจุไฟฟ้า และแบ่งเป็น 3 ชนิด (หรือ flavour) ได้แก่ อิเล็กตรอนนิวทริโน (V<sub>e</sub>) มิวออนนิวทริโน (V<sub>μ</sub>) และเทานิวทริโน (V<sub>T</sub>) แต่ละฟเลเฟลเวอร์ยังมีคู่ปฏิปักษ์ ([[ปฏิยานุภาค]]) ของมันที่เรียกว่า "ปฏินิวทริโน" อีกด้วย ซึ่งไม่มีประจุไฟฟ้าและมีสปินเป็นครึ่งเช่นกัน นิวทริโนถูกสร้างขึ้นในวิธีที่อนุรักษ์ [[เลขเลปตอน]] นั่นคือ สำหรับทุก ๆเมื่อมี อิเล็กตรอนนิวทริโนที่ ถูกสร้างขึ้น หนึ่งตัว จะมี [[โพซิตรอน]] (ปฏิอิเล็กตรอน) หนึ่งตัวก็จะถูกสร้างขึ้นด้วย และสำหรับทุก ๆเมื่อมี อิเล็กตรอนปฏินิวทริโนที่หนึ่งตัวถูกสร้างขึ้น ก็จะมีอิเล็กตรอนหนึ่งตัวก็จะถูกสร้างขึ้นเช่นกัน
 
นิวทริโนไม่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งหมายความว่าพวกมันจะจึงไม่ถูกกระทบโดย[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]]ที่จะกระทำต่อทุกอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า และเนื่องจากมันเป็นเลปตอน มันจึงไม่ถูกกระทบโดย[[อันตรกิริยาอย่างเข้ม]]ที่จะกระทำต่อทุกอนุภาคที่อยู่ภายในประกอบเป็นนิวเคลียสของอะตอม เพราะฉะนั้น พวกนิวทริโนจึงถูกกระทบด้วยโดย [[อันตรกิริยาอย่างอ่อน]] และ [[แรงโน้มถ่วง]] เท่านั้น แรงอย่างอ่อนเป็นปฏิสัมพันธ์ที่มีระยะทำการที่สั้นมาก และแรงโน้มถ่วงก็อ่อนแออย่างสุดขั้วบนมาตรวัดสำหรับในระยะทางระดับอนุภาคย่อย ดังนั้น นิวทริโนโดยทั่วไปจึงสามารถเคลื่อนผ่านสสารทั่วไปได้โดยไม่ถูกขวางกั้นและไม่สามารถตรวจจับได้
 
นิวทริโนสามารถสร้างขึ้นได้ในหลายวิธี รวมทั้งในหลายชนิดที่แน่นอนของ[[การสลายให้กัมมันตรังสี]], ใน[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]] เช่นพวกที่เกิดขึ้นใน[[ดวงอาทิตย์]], ใน[[เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์]], เมื่อ[[รังสีคอสมิก]]ชนกับ[[อะตอม]]และในซูเปอร์โนวา ส่วนใหญ่ของนิวทริโนในบริเวณใกล้โลกเกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในดวงอาทิตย์ ในความเป็นจริง นิวทรืโนจากดวงอาทิตย์ประมาณ 65 พันล้านตัว ({{val|6.5|e=10}}) ต่อวินาทีเคลื่อนที่ผ่านทุก ๆ ตารางเซนติเมตรที่ตั้งฉากกับทิศทางของดวงอาทิตย์ในภูมิภาคของโลก<ref name="J. Bahcall et al. 2005 L85–L88">{{cite journal |arxiv=astro-ph/0412440 |bibcode=2005ApJ...621L..85B |doi=10.1086/428929 |title=New Solar Opacities, Abundances, Helioseismology, and Neutrino Fluxes |journal=The Astrophysical Journal |volume=621 |issue=1 |pages=L85–8 |year=2005 |last1=Bahcall |first1=John N. |last2=Serenelli |first2=Aldo M. |last3=Basu |first3=Sarbani }}</ref>