ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่เหล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการก่อกวน 2 ครั้งของ 1.20.134.172 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย Toonniang.ด้วย[[WP:iScript|...
บรรทัด 1:
ÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁÁ¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿¿♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♠♣♣♣♣‘‹›¢„“¡¡¶⅓⅔₢₢Runner.instance_.tRex.yPos = 0[[ไฟล์:MagnetEZ.jpg|thumb|แม่เหล็กรูปเกือกม้า ทำให้แม่เหล็กมีแรงดูดมากขึ้น]]
[[ไฟล์:Magnet international.svg|thumb|รูปแสดงเส้นแรงแม่เหล็กจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ บริเวณที่แรงนี้ส่งไปถึง เรียกว่าสนามแม่เหล็ก]]
'''[[แบล็กพิงก์|แ]]ม่เหล็กแม่เหล็ก''' เป็น[[แร่]]หรือ[[โลหะ]]ที่มีสมบัติดูด[[เหล็ก]]ได้<ref>[http://rirs3.royin.go.th/], พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒</ref> ในประวัติศาสตร์ พบว่า สาร"[[Magnesia ad Sipylum|Magnesia]]n stone") ("[[หินแมกแนเซียน]]") เป็นวัตถุที่ดูดเหล็กได้ แม่เหล็ก (มาจากภาษากรีก {{lang|grc|[[wiktionary:μαγνήτις|μαγνήτις]] [[wiktionary:λίθος|λίθος]]}} ''{{transl|grc|[[wiktionary:magnḗtis|magnḗtis]] [[wiktionary:líthos|líthos]]}}'')
แม่เหล็กสามารถทำให้เกิด[[สนามแม่เหล็ก]]ได้ นั่นคือมันสามารถส่งแรงดูดหรือแรงผลัก ออกไปรอบ ๆ ตัวมันได้ แม้ว่าสนามแม่เหล็กจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้แต่มันเป็นเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติสำคัญของแม่เหล็กโดยตรง ได้แก่ คุณสมบัติการดูดและการผลักกันระหว่างแท่งแม่เหล็ก เราสามารถสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้ วิธีแรกคือ นำเหล็กมาถูกับแม่เหล็ก วิธีที่สองคือ ป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปใน[[ขดลวดเทสลา|ขดลวด]]ที่พันรอบเหล็ก แรงเหนี่ยวนำในขดลวดทำให้เหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว และทำให้เกิด สนามแม่เหล็กรอบ ๆ เหล็กนั้น<ref>[http://www.kr.ac.th/tech/det48m2/word05.htm แม่เหล็กและแม่เหล็กโลก]</ref> เราเรียกแม่เหล็กแบบนี้ว่า [[แม่เหล็กไฟฟ้า]] ปัจจุบัน มีสารอื่นที่ทำให้เป็นแม่เหล็กได้ เช่น นิเกิล โคบอล แมงกานีส
[[ไฟล์:Magnet0873.png|thumb|รูปแสดงการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กในสนามแม่เหล็ก]]
 
== คุณสมบัติของแม่เหล็ก [[งานลามก|กดดิ]] ==
# แม่เหล็กมี 2 ขั้วเสมอ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้าแขวนแท่งแม่เหล็กให้เคลื่อนที่อย่างอิสระ เมื่อหยุดนิ่ง ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียกว่า ขั้วเหนือ (N) ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียกว่า ขั้วใต้ (S)
[[งานลามก|xxx 18+]]
# ขั้วแม่เหล็กทั้งขั้วเหนือและขั้วใต้จะดูดสารแม่เหล็กเสมอ
# เมื่อนำแม่เหล็ก 2 อันมาอยู่ใกล้กัน ขั้วเหมือนกันจะผลักกัน และขั้วต่างกันจะดูดกัน
# แรงดูดจะมีมากที่สุดที่บริเวณขั้วทั้งสองของแม่เหล็กและลดน้อยลงเมื่อถัดเข้ามา
# เส้นแรงแม่เหล็กมีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ ทั้งสามมิติ
# สนามแม่เหล็กหมายถึงบริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงไปถึง
 
== การประดิษฐ์แม่เหล็ก ==
1. แท่งแม่เหล็กโดยการถู วางแท่งแม่เหล็กบนโต๊ะแล้วใช้แท่งแม่เหล็กถูลากจากปลายหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่งแล้วยกขึ้นนำกลับมาวางที่ปลายตั้งต้น ทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งแท่งแม่เหล็กกลายเป็นแม่เหล็ก สังเกตลักษณะของเหล็ก<br />
ถ้าเหล็กเป็นเหล็กอ่อน (iron) จะได้[[แม่เหล็กชั่วคราว]]<br />
ถ้าเหล็กเป็นเหล็กกล้า (steel) จะได้[[แม่เหล็กถาวร]]<br />
ซึ่งแม่เหล็กจะหมดอำนาจเมื่อถูกนำไปเผาหรือทุมด้วยค้อนหลาย ๆ ครั้ง<br />
 
2. เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดสามารถแสดงอำนาจเป็นแม่เหล็กเกิดขึ้นได้และอำนาจจะหมดเมื่อหยุดปล่อยกระแสไฟฟ้า
 
== ความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า [[งานลามก|กดดิ]] ==
จะขึ้นอยู่กับส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้
# จำนวนรอบของการพันเส้นลวดตัวนำ การพันจำนวนรอบของเส้นลวดตัวนำมากเกิดสนามแม่เหล็กมาก ในทางกลับกันถ้าพันจำนวนรอบน้อยการเกิดสนามแม่เหล็กก็น้อยตามไปด้วย