ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พุทธพจน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Budōkan (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย OctraBot
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
'''พุทธพจน์''' แปลว่าหรือ '''พุทธวจนะ''' ({{lang-pi|พุทฺธวจน}}) แปลว่า พระดำรัสของพระพุทธเจ้า, หรือคำพูดของ[[พระพุทธเจ้า'']]<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/dic/v_line.php?A=2108&Z=2108 พุทธพจน์], พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)</ref>
 
ในอลคัททูปมสูตร พระโคตมพุทธเจ้าตรัสถึงธรรมะ ได้แก่<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=12&A=4443&Z=4845#278 อลคัททูปมสูตร], พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์</ref>
'''พุทธพจน์''' หมายถึงถ้อยคำสำนวนที่[[พระพุทธเจ้า]]ตรัสไว้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นส่วนของ[[ธรรม]]หรือ[[วินัย]] ซึ่งเรียกว่า [[นวังคสัตถุศาสน์]] บ้าง [[ปาพจน์]] บ้าง ล้วนเป็น'''พุทธพจน์'''
# สุตตะ
# เคยยะ
# เวยยากรณะ
# คาถา
# อุทาน
# อิติวุตตกะ
# ชาดก
# อัพภูตธรรม และ
# เวทัลละ
คัมภีร์[[อปทาน]]เรียกองค์ธรรมทั้ง 9 นี้ว่า'''พระพุทธพจน์มีองค์ 9'''<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=32&siri=8#537 อุปาลิเถราปทาน], พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑</ref>
 
== อ้างอิง ==
'''พุทธพจน์''' จัดเป็นหลักแห่งพระพุทธศาสนา เป็นเครื่องอ้างอิงเทียบเคียงว่าคำสอนใดเป็น[[สัทธรรม]]แท้ (พุทธพจน์) หรือเป็นสัทธรรมเทียม (สัทธรรมปฏิรูป) เพราะคำสอนที่เป็นสัทธรรมแท้นั้นต้องเป็นไปเพื่อคลายกำหนัด เพื่อกำจัด[[ทุกข์]] เพื่อไม่สั่งสม[[กิเลส]] เพื่อมักน้อย เพื่อ[[สันโดษ]] เพื่อสงัดจากหมู่เพื่อความเพียร และเพื่อเลี้ยงง่าย ถ้าตรงกันข้าม พึงรู้ว่าเป็นสัทธรรมเทียม
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
==อ้างอิง==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงพุทธ}}