ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
}}
 
'''ลำไย''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Dimocarpus longan}}; (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 58:
* '''4. ลำไยสายน้ำผึ้ง''' ลักษณะคล้ายลำไยธรรมดา แต่เนื้อมีสีเหลืองอ่อน เนื้อมีรสดี หอมกรอบ เมล็ดเล็ก
 
* '''5. ลำไยเถา หรือลำไยเครือ''' เป็นไม้ต้นรอเลื้อย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพันเข้ากับรั้วหรือหลัก ผลเล็ก, เมล็ดโตกว่าลำไยบ้าน, เนื้อหุ้มเมล็ดบางมีเนื้อน้อย รสชาติมีกลิ่นคล้ายกำมะถันจึงนิยมปลูกไว้ประดับมากกว่ารับประทาน <ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยเครือ'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์., 2555: หน้า 94-95</ref> นิยมปลูกไว้ประดับมากกว่าปลูกไว้รับประทาน ชอบขึ้นตามป่าเขา
 
* '''6. ลำไยขาว''' เป็นลำไยพันธุ์โบราณหายาก ในครั้งหนึ่งเชื่อว่าเคยสูญพันธุ์ไปแล้วจากประเทศไทย แต่ในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการตามหาและตอนกิ่งขยายพันธุ์อีกครั้งหนึ่ง ผลขนาดเล็กกว่าลำไยทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลอ่อนเกือบขาว เนื้อสีขาวใส เมล็ดลีบ รสหวาน <ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยขาว'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์., 2555: หน้า 104 - 105</ref>
 
และยังมีลำอีกอยากหลายชนิดที่ยังไม่ถูกจำแนก เช่น ลำไยใบหยก, ลำไยอีสร้อย, ลำไยตอหลวง, ลำไยเพรชน้ำเอก, ลำไยพวงเพชรบ้านแพ้ว เป็นต้น ฯลฯ
บรรทัด 76:
 
== อ้างอิง ==
== ;อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
;บรรณานุกรม
*{{cite book| title=ผลไม้ในเมืองไทย|first=เศรษฐมันต์|last= กาญจนกุล |publisher=เศรษฐศิลป์|year=2555|isbn=}}
 
[[หมวดหมู่:วงศ์เงาะ]]
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dimocarpus longan|ลำไย}}
== อ้างอิง ==
{{wikispecies-inline|Dimocarpus longan}}
{{รายการอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลำไย"