ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
}}
 
'''หลวงลิขิตปรีชา''' (พ.ศ. 23?? - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง<ref>กรมพระอาลักษณ์เป็นหนึ่งในกรมมนตรี 6 เป็นกรมขึ้นตรงต่อพระเจ้าแผ่นดิน ปฏิบัติหน้าที่ด้านเอกสารสำคัญ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ พระราชพิธี พระสุพรรณบัฏ และเอกสารราชการที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชทินนามตำแหน่งเจ้ากรม (วังหลวง) คือ ออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ ศักดินา 5000 ส่วนวังหน้าถือศักดินากึ่งหนึ่งของวังหลวงตามธรรมเนียม หรือลดหลั่นศักดินาลงไปตามความสำคัญของกรมและบรรดาศักดิ์</ref>) และราชเลขานุการในพระองค์ <ref>เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สั่งให้ยกกรมพระอาลักษณ์และกรมรัฐมนตรีสภามาสมทบอยู่ในกรมราชเลขานุการ โดยรวมเป็นแผนกเดียวกันแต่ให้คงชื่อกรมทั้งสองนั้นอยู่ เนื่องจากมีหน้าที่เนื่องกันกับกรมราชเลขานุการแต่งบประมาณยังแยกกันอยู่</ref> และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 <ref>ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. ประวัติวรณคดีวิจารณ์ไทย พ.ศ. 2325-2525 ทอไหมในสายน้ำ 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สานส์, 2541. 291 หน้า. ISBN : 974-230-708-0</ref> ถือศักดินา 1,500 <ref>ประวัติขุนนางวังหน้า ร. 2. กรุงเทพ หน้าที่ 12</ref> (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) <ref>เทพ สุนทรศารทูล. ชีวประวัติพระสุนทรโวหาร (ภู่ ภู่เรือหงส์). กรุงเทพฯ : พระนารายณ์, 2533. 225 หน้า. ISBN : 974-575-133-2.</ref> ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <ref>สมบัติ ปลาน้อย. เจ้าฟ้าจุฑามณี, พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รวมสาส์น (1977), 2536. 315 หน้า.</ref> บิดาชื่อ[[หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)|นายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)]] ถือศักดินา 2000 <ref>ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติศักดินาทหารทหารบกและศักดินาทหารเรือ. ประกาศ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ 1 เดือน 9 ขึ้น 5 ค่ำ ปีชวดสัมฤทธิศกศักราช 1250 เป็นวันที่ 7215 ในรัชกาลปัจจุบัน</ref> ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด) และเป็นหลานเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นข้าราชการทหารกองหนุน กระทรวงกลาโหม หลวงลิขิตปรีชามีเชื้อสายสกุลสืบทอดจาก[[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก]] (นับเป็นเหลน) <ref>นามสกุลพระราชทาน. พระราชวังพญาไท. หมวด ร. ลำดับที่ 368 </ref> สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย บรรพบุรุษของท่านชื่อพราหมณ์ศิริวัฒนะ หรือพระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ องค์ปุริโสดมพราหมทิชาจารย์ ราชปุโรหิตใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3]] สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ [[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)]]
 
== ชีวประวัติหน้าที่การงาน ==
บรรทัด 162:
 
== สกุลโรจนกุล ==
'''โรจนกุล''' เป็น[[นามสกุลพระราชทาน]]ตระกูลขุนนางเจ้าเมืองพิษณุโลก และเป็นหนึ่งในสกุลเก่าแก่ของไทย <ref>[https://www.facebook.com/ThailandhistoryOFwarehouse/posts/338578312952462 10 นามสกุลเก่าแก่ของไทย. Facebook คลังประวัติศาสตร์ไทย]</ref> ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ตรา พระราชบัญญัติขนานนามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานนามสกุลให้หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล) กับนายพันโท [[หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)]] <ref>อมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), จมื่น. กำเนิดนามสกุล เล่ม 2 พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา : 2511.</ref> ผู้เป็นบิดาด้วยในฐานะที่เป็นขุนนางในรัชกาลก่อนเพื่อสืบตระกูลเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เจ้าเมืองพิษณุโลก บรรพบุรุษคือพระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ องค์ปุริโสดมพรหมญาณวิบุลสิลสุจริต วิวิทธเวทยพรหมพุทธาจารย์ปุโรหิต (พราหมณ์ศิริวัฒนะ) แผ่นดิน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ซึ่งเป็นบิดาของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2456 ตามประกาศพระราชทานนามสกุลครั้งที่ 5 <ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติขนามนามสกุล พุทธศักราช 2456, เล่ม 30 14 กันยายน พ.ศ. 2456, หน้า 1238</ref> ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 30 หน้าที่ 1,238 ลำดับนามสกุลพระราชทานเลขที่ 368 พระราชทานนามสกุลว่า "โรจนะกุล" (สะกดภาษาไทยตามราชกิจจานุเบกษา ปัจจุบันสะกดว่า "โรจนกุล") อักษรโรมัน "Rochanakul" สกุล[[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)]] โดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์]] เสนาบดีกระทรวงมุรธาธรในขณะนั้นรับสนองพระบรมราชโองการ
 
=== ลำดับสมาชิกวงศ์ตระกูล ===
สมาชิกวงศ์ตระกูลนับตั้งแต่ต้นสกุลสืบขึ้นสูงสุดเท่าที่จะสืบได้มีรายนาม และราชทินนามดังนี้ <ref>พระบรมราชาธิบาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชวิจารณ์จดหมายเหตุความทรงจำ กรมหลวงนรินทรเทวี ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 หน้า 4</ref><ref>แผนที่ลำดับสกุล ฉบับท้าวอนงครักษา (ลม้าย) หลวงพิสูทธิภัณฆรักษา (แต้ม ศิริวัฒนกุล) รวบรวม</ref><ref>แผนที่ลำดับสกุล ฉบับหลวงศรีวรวัตร (พิณ จันทรโรจวงศ์)</ref><ref>แผนที่ลำดับสกุล ฉบับพระมิตรกรรมรักษา (นัดดา บุรณศิริ) และคำชี้แจงของคุณหญิงเนื่อง เพ็ชรัตน์สงคราม</ref><ref>แผนที่ลำดับสกุล ฉบับขุนนนวิจารณ์ (นน ทองอิน)</ref><ref>แผนที่ลำดับสกุล ฉบับกฤตภาส โรจนกุล รวบรวม</ref>
::* (2) เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ หรือ[[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)]] พ.ศ. 2262 - 2311 เจ้าเมืองพิษณุโลก (บุตร 3 คน)
:* พระมหาราชครู พระราชปุโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงส์ องค์ปุริโสดมพรหมญาณวิบุลสิลสุจริต วิวิทธเวทยพรหมพุทธาจารย์ปุโรหิต (พราหมณ์ศิริวัฒนะ) ราชปุโรหิตใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พ.ศ. 2199 - 2231
 
::* (1) เจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล)
 
::* (2) เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ หรือ[[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง)]] พ.ศ. 2262 - 2311 เจ้าเมืองพิษณุโลก (บุตร 3 คน)
 
::::* (1) เจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด)
 
:::::* [[หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)|นายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)]] กองหนุน กระทรวงกลาโหม
เส้น 184 ⟶ 178:
::::::* (3) รองอำมาตย์โท ขุนโรจนกุลประพัทธ์ (ปอนด์ โรจนกุล) นายอำเภอ
 
:
::::* (2) เจ้าพระยาสุรินทรภักดี (บุญมี)
 
::::* (3) เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)
 
ต้นสกุลเครือญาติที่มีเชื้อสายโลหิตเดียวกัน
 
:1. ราชสกุล นรินทรกุล ณ อยุธยา ''ต้นสกุล [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามุก กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์]] (หม่อมมุก) พระสวามี[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนรินทรเทวี|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]]'' พระน้องนางเธอต่างพระชนนี ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] รัชกาลที่ 1
 
:2. ราชินิกุล สุจริตกุล ''ต้นสกุล [[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] กับ [[ท้าวสุจริตธำรง (นาค)]]'' พระบิดาและพระมารดาของ [[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) [[เจ้าจอม]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4
 
:3. สกุล สิงหเสนี ''ต้นสกุล [[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)|เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์)]]''
 
:4. สกุล บุณยรัตพันธุ์ ''ต้นสกุล [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด)]]''
 
:5. สกุล จันทโรจวงศ์ ''ต้นสกุล [[เจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)|เจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์)]]''
 
:6. สกุล ชัชกุล ''ต้นสกุล [[พระยาทัศฎาจาตุรงค์ (ขนมต้ม)]]''
 
:7. สกุล ภูมิรัตน ''ต้นสกุล [[พระยาจินดารังสรรค์ (แก้วแขก)]]''
 
:8. สกุล บุรณศิริ ''ต้นสกุล [[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (บุญศรี บุรณศิริ)|เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (บุญศรี)]]''
 
:9. สกุล อินทรพล ''ต้นสกุล [[เจ้าพระยาพลเทพ]] (ทองอิน)''
 
:10. สกุล ศิริวัฒนกุล ''ต้นสกุล [[พระยาราชโยธา (ทองอยู่)]]'' สืบสกุลขึ้นไปถึงพราหมณ์ชื่อ พระครูศิริวัฒนะ
 
== อ้างอิง ==