ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 283:
* [[พ.ศ. 2550]] คณะแพทยศาสตร์ ประสบความสำเร็จในการสร้างสายพันธุ์เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนของมนุษย์ (Human Embryonic Stem Cells) สำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย
* [[พ.ศ. 2550]] นิสิตแพทย์ จุฬาฯ ได้รับรางวัล AMEE awards ในหมวด teaching & learning และหมวด student issues จากการนำเสนอเรื่อง Cinemeducation: Learning professionalism through films at Chulalongkorn Medical School ในการประชุม Association of medicial Education in Europe 2007 ณ เมือง Trondheim ราชอาณาจักรนอร์เวย์
* [[พ.ศ. 2552]] คณะแพทยศาสตร์ ประสบความสำเร็จในการจัดตั้งธนาคารเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนของมนุษย์ (Human Embryonic Stem Cells Bank) สำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย สายพันธุ์เซลล์ต้นกำเนิดสายพันธุ์ไทย ชื่อ Chula2.hES ได้รับการยอมรับเป็นครั้งแรกในระดับนานาชาติ และขึ้นทะเบียนกับสหภาพยุโรป<ref>(มหาชน), บริษัท มติชน จำกัด. "จุุฬาฯจุฬาฯตั้งธนาคารสเต็มเซลล์ตัวอ่อนมนุษย์แห่งแรกของประเทศไทย." Prachachat Online. June 14, 2012. Accessed May 17, 2017. http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339615657.</ref>
* [[พ.ศ. 2556]] ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยื่นจดสิทธิบัตรรองเท้าสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งผ่านการทำวิจัยในกลุ่มผู้สูงอายุจนได้รูปแบบรองเท้าที่เหมาะสม สามารถลดปัญหาสุขภาพเท้าในผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดี<ref>ส่วนส่งเสริมและพัฒนาวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. "ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์จริงเพื่อสุขภาพเท้าผู้สูงอายุ." Research.chula.ac.th. August 3, 2009. Accessed May 17, 2017. http://www.research.chula.ac.th/web/cu_online/2552/vol_27_2.htm.</ref>
* [[พ.ศ. 2558]] คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัล ASPIRE to Excellence Awards สาขา Student Engagement ในการประชุม Association for Medical Education in Europe (AMEE) ณ ประเทศ[[สหราชอาณาจักร]] โดย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งแรกและแห่งเดียวในเอเชียที่เคยได้รับรางวัลนี้<ref>[http://www.md.chula.ac.th/news_view.php?id=1014 แพทย์จุฬาฯ คว้ารางวัล Aspire to Excellence Award 1 เดียว ในเอเซีย,2558]</ref>