ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็สเอ็ส-โทเทินค็อพฟ์แฟร์เบ็นเดอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox Government agency
| agency_name = หน่วยหัวกะโหลก
| nativename = ''เอสเอส-โทเทนคอฟฟาบานเดอ (เอสเอส-ทีวี) ''
| nativename_a =
| nativename_r =
| logo = SS Totenkopf.jpg
| logo_width = 100px
| logo_caption = ตราปกเครื่องหมาย (second version, 1934-1945)
| picture = Bundesarchiv Bild 192-206, KZ Mauthausen, SS-Männer vor Gefangenen.jpg
| picture_width = 250px
| picture_caption = เจ้าหน้าที่เอสเอส-ทีวีใน[[ค่ายกักกันเมาเทาเซิน-กูเซน]] (ตุลาคม 1941)
| formed = June 1934
| preceding1 =
| preceding2 =
| dissolved = 8 May 1945
| superseding =
| jurisdiction = {{Flag icon|Germany|Nazi}} [[นาซีเยอรมนี]]<br />[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง]]
| headquarters = [[Oranienburg]], ใกล้กับ [[เบอร์ลิน]]
| latd = 52 |latm=45 |lats=16 |latNS=N
| longd = 13 |longm= 14|longs=13 |longEW= E
| region_code =
| employees = 22,033 ([[Nazi concentration camps|SS-TV]] 1939{{sfn|Sydnor|1990|p=34}} and <br> [[3rd SS Division Totenkopf|SS Division ''Totenkopf'']] c.1942)
| budget =
| minister1_name = [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]] 1934–1945
| minister1_pfo = ''[[ไรช์ฟือแรร์-เอสเอส]]''
| minister2_name =
| minister2_pfo =
| chief1_name = [[ธีโอดอร์ ไอค์เคอ]] (1934–1940)
| chief1_position = Commander
| chief2_name = [[ริชาร์ด กลืคส์]] (1940–1945)
| chief2_position = Commander
| chief3_name =
| chief3_position =
| agency_type = Paramilitary Organisation
| parent_agency = [[ไฟล์:Flag Schutzstaffel.svg|23px]] ''[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล|SS]]''
| child1_agency =
| child2_agency =
| website =
| footnotes =
}}
'''เอสเอส-โทเทนคอฟฟาบานเดอ''' ({{lang-de|SS-Totenkopfverbände}}) หรือ'''เอสเอส-ทีวี''' (SS-TV) หรือเรียกว่า '''หน่วยหัวกะโหลก''' เป็นหน่วยองค์กรย่อยของหน่วย[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล]]หรือเอสเอสที่รับผิดชอบในการบริหาร[[ค่ายกักกันนาซี]]สำหรับจักวรรดิไรซ์ที่สาม, ระหว่างหน้าที่คล้ายกัน. ในขณะที่'''โทเทนคอฟ''' (หัวกะโหลก) เป็นตราสัญลักษณ์สากลของหน่วยเอสเอส,เอสเอส-ทีวียังสวมเครื่องหมายหัวกะโหลกไขว้บนปกเสื้อที่เหมาะสมเมื่อมีความจำเป็น; ที่จะแยกตัวเองจากนาซี หน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (SS) หน่วยอื่นๆ
 
เอสเอส-ทีวีถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1933 เป็นหน่วยอิสระจากภายในหน่วยเอสเอสที่มีโครงสร้างและคำสั่งด้วยตัวเอง.มันได้ดำเนินการค่ายไปทั่วในประเทศเยอรมนีและต่อมานาซีได้ยึดครองทวีปยุโรป ค่ายในเยอรมนีรวมทั้ง[[ค่ายกักกันดาเคา|ดาเคา]], [[ค่ายกักกันแบร์เกิน-เบลเซิน|แบร์เกิน-เบลเซิน]]และ[[ค่ายกักกันบูเคนวัลด์|บูเคนวัลด์]]; ค่ายอื่นๆในยุโรปรวมทั้ง[[ค่ายกักกันเอาชวิทซ์|เอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา]]ในเขตเยอรมันยึดครองโปแลนด์และ Mauthausenในออสเตรีย ด้วยจำนวนค่ายกักกันอื่นๆอีกมากมายและ[[ค่ายมรณะ]]ได้ลงมือด้วยความลับสุดยอด. ค่ายมรณะคือทำการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์; พวกเขาได้รวมถึง Treblinka, Bełżec, และ Sobibór ถูกสร้างขึ้นมาเฉพาะสำหรับ[[ปฏิบัติการรีนฮาร์ด|อาทตันรีนฮาร์ด]] (Aktion Reinhard),เช่นเดียวกับต้นแบบค่ายมรณะ Chełmno, และ Majdanek ซึ่งเป็นสถานที่ปฏิบัติงานที่สามารถทำการสังหารได้อย่างสะดวก,พร้อมกับเอาชวิทซ์.พวกเขาได้มีหน้าที่รับผิดชอบในความอำนวยความสะดวกในสิ่งที่พวกนาซีเรียกว่า [[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย|มาตรการสุดท้าย]] (Final Solution),ซึ่งเป็นที่รู้จักตั้งแต่สงครามคือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซีหรือ[[ฮอโลคอสต์]],ผู้ก่อการโดยหน่วยเอสเอสภายในโครงสร้างคำสั่งของ[[สำนักความมั่นคงหลักของรัฐ|สำนักงานความมั่นคงหลักของรัฐ]] (Reich Main Security Office) ภายใต้การนำของ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]],และ[[สำนักงานหลักเศรษฐกิจและบริหาร]]แห่งหน่วยเอสเอส (SS Economic and Administrative Main Office) หรือ WVHA
 
เมื่อการปะทุจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] หนึ่งในหน่วยรบแห่งแรกของ[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]],[[กองพลเอสเอสโทเทนคอฟ]] (SS Division Totenkopf) ถูกก่อตั้งขึ้นโดยบุคคลากรในหน่วยเอสเอส-ทีวี.ต่อมาไม่ช้าก็ได้มีชื่อเสียงในเรื่องความโหดเหี้ยมอำมหิต,มีส่วนร่วมในการก่ออาชญากรรมสงคราม เช่น การสังหารหมู่ที่ Le Paradis massacre ในปี 1940 ระหว่าง[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส|ฝรั่งเศสถูกยึดครอง]].ด้านแนวรบตะวันออกได้ทำการยิงสังหารพลเรือนชาวโปแลนด์และโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|การรุกรานสหภาพโซเวียต]].เป็นงานของกองกำลังปฏิบัติการพิเศษที่เป็นที่รู้จักกันคือ Einsatzgruppen,ซึ่งก่อตั้งโดย ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และ[[รีนฮาร์ด เฮย์ดริช]]
 
 
== อ้างอิง ==
* Evans, Richard J. (2005). The Third Reich in Power. New York: Penguin. ISBN 978-0-14-303790-3.
* Kershaw, Ian (2008). Hitler: A Biography. New York: W. W. Norton & Company. ISBN 978-0-393-06757-6.
* Koehl, Robert (2004). The SS: A History 1919–45. Stroud: Tempus. ISBN 978-0-75242-559-7.
* McNab, Chris (2009). The SS: 1923–1945. Amber Books Ltd. ISBN 978-1-906626-49-5.
* Padfield, Peter (2001) [1990]. Himmler: Reichsführer-SS. London: Cassel & Co. ISBN 0-304-35839-8.
* Stein, George H. (1984). The Waffen SS: Hitler's Elite Guard at War, 1939–1945. Ithaca, NY: Cornell University Press. ISBN 0-8014-9275-0.
* Sydnor, Charles (1990) [1977]. Soldiers of Destruction: The SS Death's Head Division, 1933–1945. Princeton, NJ: Princeton University Press. ASIN B001Y18PZ6.
* Wachsmann, Nikolaus (2015). KL: A History of the Nazi Concentration Camps. Macmillan. ISBN 1429943726.
 
[[หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี]]