ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามัลดีฟส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์
|nativename=ދިވެހި
|region=[[มัลดีฟส์]]; [[ลักษทวีป]] ([[อินเดีย]])
บรรทัด 12:
|iso1=dv|iso2=div|iso3=div|notice=Indic}}
 
'''ภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์''' (Divehi{{lang-en|Maldivian language}}) เป็น[[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน]]และเป็นภาษาราชการของ[[ประเทศมัลดีฟส์]] มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้ง[[ภาษามาห์ล]] (Mahl dialect)ที่ใช้ใน[[ลักษทวีป]] ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะ[[ภาษาอาหรับ]] ที่เข้ามาพร้อมกับ[[ศาสนาอิสลาม]] รวมทั้ง [[ภาษาสิงหล]] [[ภาษามาลายาลัม]] [[ภาษาฮินดี]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] [[ภาษาโปรตุเกส]] และ [[ภาษาอังกฤษ]] คาดว่าภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ พ.ศ. 43
 
ผู้ศึกษาภาษานี้เป็นคนแรกคือ H. C. P. Bell เขาตั้งชื่อภาษานี้ว่า Divehi มาจาก –dives ของชื่อประเทศคือ Maldives คำว่าดิเวฮิมัลดีฟส์นี้มีรากศัพท์มาจากคำเดียวกับทวีป (dvīp) ซึ่งหมายถึง[[เกาะ]]ใน[[ภาษาสันสกฤต]] นักภาษาศาสตร์ที่ทำวิจัยเกี่ยวกับภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์เป็นคนแรกคือ Wilhelm Geiger ชาวเยอรมัน
 
== จุดกำเนิด ==
 
ภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันใกล้เคียงกับภาษาสิงหลใน[[ประเทศศรีลังกา]] จัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่อยู่ใต้สุด ภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์มีลักษณะเฉพาะเช่นเดียวกับภาษาสิงหล ซึ่งเรียกรวมกันว่าภาษาอินโด-อารยันหมู่เกาะ
 
ในช่วงแรกเชื่อว่าภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์เป็นลูกหลานของภาษาสิงหล ใน พ.ศ. 2512 M. W. S. de Silva เสนอว่าภาษาสิงหลและภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์แตกแขนงออกมาจากภาษาแม่ที่เป็น[[ภาษาปรากฤต]] [[ตระกูลภาษาดราวิเดียน]]มีอิทธิพลต่อภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์โดยเฉพาะชื่อโบราณ ทฤษฎีของ De Silva ได้รับการสนับสนุนจากตำนานของเจ้าชายวิชัยที่อพยพจาก[[อินเดีย]]ยังศรีลังกาและแผ่อิทธิพลไปถึงมัลดีฟส์
 
== ความหลากหลายของภาษา ==
บรรทัด 27:
 
สำเนียงโมโลกิที่ใช้พูดใน[[เกาะฟุวะห์มุละห์]]ต่างจากสำเนียงมาเล่ที่มีเสียง 'l' เป็นตัวสะกด (ލް) มีเสียง 'o' ท้ายคำ แทนที่เสียง 'u' เช่น 'fannu' กลายเป็น 'fanno'
อักษร[[นะวิยะนิ]] ([[ޱ]]) ซึ่งใช้แทนเสียงม้วนลิ้นของ "n" พบมากในภาษาในอินเดีย เช่นภาษาสิงหล [[ภาษาคุชราต]] [[ภาษาฮินดี]] ถูกตัดออกจากการเขียนมาตรฐานของภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์ เมื่อ พ.ศ. 2493 ปัจจุบันจะพบได้เฉพาะในเอกสารโบราณหรือการเขียนของสำเนียงอัดดุ
 
== ระดับชั้นของภาษา ==
ภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์มีการแบ่งระดับชั้นของภาษาชัดเจนโดยมีระดับของภาษา 3 ระดับ คือ ระดับแรก ''รีทิ บัส'' (reethi bas) หรือ ''อาเธ-วดัยเนฟวุน'' (aadhe-vadainevvun) ในอดีตใช้ติดต่อกับชนชั้นสูงและราชวงศ์ แต่ปัจจุบันใช้ในวิทยุโทรทัศน์ ในการแสดงความเคารพต่อผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ และคนแปลกหน้า จะใช้ระดับที่ 2 คือ ''ลับบา-ธุรุวุน'' (labba-dhuruvun) คนส่วนใหญ่ใช้ระดับที่ 3 ที่เป็นระดับกันเองในชีวิตประจำวัน
== ระบบการเขียน ==
อักษรที่ใช้เขียนภาษาดิเวฮิมีมัลดีฟส์มี 2 ชนิด ชนิดที่ใช้ในปัจจุบันเรียกว่า[[อักษรทานะ]] (Thaana) เขียนจากขวาไปซ้าย ส่วนอักษรดั้งเดิมเรียก[[อักษรดิเวส อกุรุ]] (Dhives Akuru) ซึ่งเขียนจากซ้ายไปขวา อักษรดิเวส อกุรุ ใช้ในทุกเกาะจนถึงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และการมาถึงของ[[ศาสนาอิสลาม]] แต่ยังคงใช้ในการติดต่อกับหมู่เกาะอัดดุ จนถึงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตอนต้น และยังคงใช้ในเกาะที่ห่างไกลและหมู่บ้านในชนบทจนถึงทศวรรษ 1960 คนที่ใช้เป็นอักษรแม่คนสุดท้ายตายในช่วงทศวรรษ 1990 และปัจจุบัน ส่วนใหญ่ชาวมัลดีฟส์ไม่ได้เรียนอักษรดิเวส อกุรุ กันทุกคน แต่คนที่เรียนจะเรียนเป็นอักษรที่ 2
 
อัตราการเรียนรู้หนังสือสูงมาก (98%) เมื่อเทียบกับประเทศใน[[เอเชียใต้]]ประเทศอื่น ๆ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ในการสอนหนังสือในโรงเรียนส่วนใหญ่ใช้[[ภาษาอังกฤษ]] แต่ก็ยังคงมีการสอนหนังสือภาษาดิเวฮิมัลดีฟส์ และใช้ในการปกครอง
 
{{วิกิภาษาอื่น|dv}}