ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลิเลโอ กาลิเลอี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Heart191 (คุย | ส่วนร่วม)
หฟกหก
บรรทัด 23:
}}
{{ใช้ปีคศ}}
'''กาลิเลโอ กาลิเลอีเลอีมาเล่นrovกันะ''' ({{lang-it|Galileo Galilei}}; [[15 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1564]] - [[8 มกราคม]] [[ค.ศ. 1642]]) เป็นชาวทัสกันหรือชาว[[อิตาลี]] ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของ[[กล้องโทรทรรศน์]]และผลสังเกตการณ์ทาง[[ดาราศาสตร์]]ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของ[[โคเปอร์นิคัส]]อย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่"<ref>Singer, Charles (1941), ''[http://www.google.com.au/books?id=mPIgAAAAMAAJ&pgis=1 A Short History of Science to the Nineteenth Century]'', Clarendon Press, (page 217) </ref> "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"<ref name="manfred">Weidhorn, Manfred (2005). ''The Person of the Millennium: The Unique Impact of Galileo on World History''. iUniverse, p. 155. ISBN 0-595-36877-8.</ref> "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์"<ref name="manfred" /> และ "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ยุคใหม่"<ref>Finocchiaro, Maurice A. (Fall 2007), "Book Review—The Person of the Millennium: The Unique Impact of Galileo on World History", ''The Historian'' '''69''' (3) : 601–602, doi:[http://dx.doi.org/10.1111%2Fj.1540-6563.2007.00189_68.x 10.1111/j.1540-6563.2007.00189_68.x]</ref>
 
การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีความเร่งคงที่ ซึ่งสอนกันอยู่ทั่วไปในระดับมัธยมศึกษาและเป็นพื้นฐานสำคัญของวิชา[[ฟิสิกส์]]ก็เป็นผลงานของกาลิเลโอ รู้จักกันในเวลาต่อมาในฐานะวิชา[[จลนศาสตร์]] งานศึกษาด้านดาราศาสตร์ที่สำคัญของกาลิเลโอได้แก่ไ[[ด้]]แก่ การใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์คาบปรากฏของ[[ดาวศุกร์]] การค้นพบ[[ดาวบริวาร]]ของ[[ดาวพฤหัสบดี]] ซึ่งต่อมาตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่เขาว่า ''ดวงจันทร์กาลิเลียน'' รวมถึงการสังเกตการณ์และการตีความจากการพบจุดดับบน[[ดวงอาทิตย์]] กาลิเลโอยังมีผลงานด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ซึ่งช่วยพัฒนาการออกแบบ[[เข็มทิศ]]อีกด้วย
 
การที่ผลงานของกาลิเลโอสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสกลายเป็นต้นเหตุของการถกเถียงหลายต่อหลายครั้งในชีวิตของเขา เพราะแนวคิดเรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลนั้นเป็นแนวคิดหลักมานานแสนนานนับแต่ยุคของ[[อริสโตเติล]] การเปลี่ยนแนวคิดใหม่ว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลโดยมีข้อมูลสังเกตการณ์ทางวิทยาศาสตร์อย่างชัดเจนจากกาลิเลโอช่วยสนับสนุน ทำให้คริสตจักร[[โรมันคาทอลิก]]ต้องออกกฎให้แนวคิดเช่นนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม เพราะขัดแย้งกับการตีความตามพระคัมภีร์<ref name="sharrat" /> กาลิเลโอถูกบังคับให้ปฏิเสธ[[แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล|ความเชื่อเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]] และต้องใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ในบ้านกักตัวในความควบคุมของศาลศาสนาโรมัน
บรรทัด 156:
[[ไฟล์:GallileoTomb.jpg|thumb|200px|สุสานของกาลิเลโอ กาลิเลอี ที่[[มหาวิหารซันตาโกรเช]]]]
 
กาลิเลโอเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[8 มกราคม]] [[ค.ศ. 1642]] รวมอายุ 77 ปี [[แฟร์ดีนันโดที่ 2 เด เมดีชี แกรนด์ดยุกแห่งทัสกานี]] ต้องการฝังร่างของเขาไว้ในอาคารหลักของ[[มหาวิหารซันตาโกรเช]] ติดกับหลุมศพของบิดาของท่านและบรรพชนอื่น ๆ รวมถึงได้จัดทำศิลาหน้าหลุมศพเพื่อเป็นเกียรติด้วย<ref name="funeral">Shea, William R. and Artigas, Mario (2003). ''Galileo in Rome: The Rise and Fall of a Troublesome Genius''. Oxford: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด. ISBN 0-19-516598-5.; Sobel, Dava (2000) [1999]. ''Galileo's Daughter''. London: Fourth Estate. ISBN 1-85702-712-4.</ref> แต่แผนการนี้ไม่สำเร็จ เนื่องจากถูก[[สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8]] และหลานของพระองค์คือพระคาร์ดินัลฟรานเชสโก บาร์เบรินี คัดค้าน<ref name=funeral /> เขาจึงต้องฝังร่างอยู่ในห้องเล็ก ๆ ถัดจากโบสถ์น้อยของโนวิซที่ปลายสุดโถงทางเดินทางปีกด้านใต้ของวิหาร<ref name=funeral /> ภายหลังเขาได้ย้ายหลุมศพไปไว้ยังอาคารหลักของมหาวิหารในปี ค.ศ. 1737 หลังจากมีการสร้างอนุสาวรีย์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา<ref name=funeral />
 
คำสั่งห้ามการพิมพ์ผลงานของกาลิเลโอได้ยกเลิกไปในปี ค.ศ. 1718 โดยได้มีการอนุญาตตีพิมพ์งานหลายชิ้นของเขา (รวมถึง ''Dialogue'') ในเมืองฟลอเรนซ์<ref name="heilbron">Heilbron, John L. (2005). ''Censorship of Astronomy in Italy after Galileo''. In McMullin (2005, pp.279–322).</ref> ปี ค.ศ. 1741 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14]] ทรงอนุญาตให้ตีพิมพ์ผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ของกาลิเลโอได้<ref name="complete works 1">มีงานพิมพ์สองชิ้นที่ไม่ใช่งานทางวิทยาศาสตร์ คือ ''Letters to Castelli'' และ ''Letters to Grand Duchess Christina'', ซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในการอนุญาตตีพิมพ์คราวนี้; Coyne, George V., S.J. (2005). ''The Church's Most Recent Attempt to Dispel the Galileo Myth''. In McMullin (2005, pp.340–359). </ref> รวมถึงงานเขียนต้องห้ามชุด ''Dialogue'' ด้วย<ref name="heilbron" /> ปี ค.ศ. 1758 งานเขียนต่าง ๆ เกี่ยวกับแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาลซึ่งเคยถูกแบนมาก่อน ได้ถูกยกออกไปเสียจากรายการหนังสือต้องห้าม แต่ยังคงมีการห้ามเป็นพิเศษสำหรับหนังสือ ''Dialogue'' และ ''De Revolutionibus'' ของโคเปอร์นิคัสอยู่<ref name="heilbron" /> การห้ามปรามงานตีพิมพ์เกี่ยวกับแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาลได้สูญหายไปจนหมดในปี ค.ศ. 1835{{fn|9}}