ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 167:
 
==== ประเภทวิชาการ ====
* '''ระดับปฏิบัติการ หรือ ครูผู้ช่วย และ ครู (อันดับ คศ.1)''' เริ่มขอ ต.ม. (โดยต้องรับราชการครบ 5 ปี จึงขอได้)
* '''ระดับชำนาญการ หรือ ครู (อันดับ คศ.2)''' เริ่มขอ ต.ช. (หากได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษ ขอ ท.ม.- หากได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษ มาแล้ว 5 ปี ขอ ท.ช.)
* '''ระดับชำนาญการพิเศษ หรือ ครู (อันดับ คศ.3)''' เริ่มขอ ท.ช. ( หากได้รับเงินเดือนขั้นสูง และ ได้ ท.ช. มาแล้ว 5 ปี ขอ ป.ม.)
* '''ระดับเชี่ยวชาญ หรือ ครู (อันดับ คศ.4)''' หากได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ม. - หากได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - หากได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ว.ม. (ในปีที่เกษียณอายุราชการ ขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ หรือ ครู (คศ.5)'''ที่ หากได้รับเงินประจำตำแหน่ง 13,000 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. หากได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - หากได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - หากได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ม.ว.ม. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ หรือ ครู (คศ.5)'''ที่ หากได้รับเงินประจำตำแหน่ง 15,600 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - หากได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - หากได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา เว้นกรณีลาออก)
 
==== ประเภทอำนวยการ ====