ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหม (ศาสนาพุทธ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า พระพรหม(ศาสนาพุทธ) ไปยัง พระพรหม (ศาสนาพุทธ)
ลบลิงก์พร่ำเพรื่อ ข้อมูลไม่มีอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
ใน[[ศาสนาพุทธ|คติพุทธศาสนา]] '''พระพรหม''' เป็น[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ชาวสวรรค์]]ชั้นสูงขั้นหนึ่งที่สูงกว่า[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|เทวดา]]ทั่วไป เรียกว่า "พรหม" พระพรหมยังอยู่ใน[[ฉกามาพจร|กามาวจรภพ]]มีการวนเวียน และยังเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่า [[พรหมภูมิ|ชั้นพรหม]] (หรือที่นิยมเรียกว่า [[พรหมภูมิ|พรหมโลก]]) พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|รูปพรหม]]" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|อรูปพรหม]]" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดย[[พรหมภูมิ|อรูปพรหม]]จะสูงกว่า[[พรหมภูมิ|รูปพรหม]]
 
พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "รูปพรหม" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "อรูปพรหม" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยอรูปพรหมจะสูงกว่ารูปพรหม
 
== ในคติเถรวาท ==
ใน[[ศาสนาพุทธ|คติพุทธศาสนา]] พระพรหม เป็น[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ชาวสวรรค์]]ชั้นสูงขั้นหนึ่งที่สูงกว่า[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|เทวดา]]ทั่วไป เรียกว่า "พรหม" พระพรหมยังอยู่ใน[[ฉกามาพจร|กามาวจรภพ]]มีการวนเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่า [[พรหมภูมิ|ชั้นพรหม]] หรือที่นิยมเรียกว่า [[พรหมภูมิ|พรหมโลก]] พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|รูปพรหม]]" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|อรูปพรหม]]" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดย[[พรหมภูมิ|อรูปพรหม]]จะสูงกว่า[[พรหมภูมิ|รูปพรหม]]
ตามคติ[[เถรวาท]] พระพรหมไม่มีเพศ ไม่ต้องกินไม่ต้องบริโภคอาหาร เหมือนสัตว์ในภูมิอื่น ด้วยว่าแช่มชื่นอิ่มเอิบโดยมีฌานสมาบัติเป็นอาหาร จึงไม่ต้องขับถ่ายคูตรมูถ สถิตย์เสวยสุขพรหมสมบัติอยู่ ณ พรหมภูมิที่ตนอุบัติตราบจน กว่าจะสิ้นอายุ ซึ่งเป็นเวลานานแสนนาน
 
== ในคติมหายาน ==
== พระพรหมใน[[เถรวาท|คติพุทธศาสนาเถรวาท]] ==
ใน[[มหายาน]] นับถือพระพรหมในฐานะ[[ธรรมบาล]] ซึ่งปรากฎอยู่ใน[[พระสูตร]]ต่าง ๆ ที่สำคัญ และถือเป็น[[พระโพธิสัตว์]]องค์หนึ่ง
 
== พระพรหมที่สำคัญ ==
"พระพรหม" ในทาง[[ศาสนาพุทธ|คติพุทธศาสนา]] เป็น "พระพรหมผู้วิเศษ" ล้วนแต่บุรุษเพศทั้งสิ้น ไม่ต้องกินไม่ต้องบริโภคอาหาร เหมือนสัตว์ในภูมิอื่น ด้วยว่าแช่มชื่นอิ่มเอิบโดยมีฌานสมาบัติเป็นอาหาร จึงไม่ต้องมีการถ่ายคูตรมูถ คืออุจจาระ ปัสสาวะอันลามกเหม็นร้าย สรีระร่างกายหน้าตาแห่งบรรดาพระพรหมนั้น มีสัณฐานกลมเกลี้ยงสวยงามนัก มีรัศมีออกจากกายตัวเลื่อม ประภัสสรรุ่งเรืองกว่ารัศมีพระอาทิตย์ และพระจันทร์ หลายพันเท่า เพียงแต่หัตถ์หนึ่งเล่าอันพระพรหมทั้งหลายเหยียดยื่นออกไปหวังจะให้ส่อง รัศมีไปทั่วห้วงจักรวาลก็ย่อมจักทำได้ อวัยวะร่างกายที่ต่อกัน คือ หัวเข่าก็ดี แขนก็ดี มีสัณฐานกลมเกลี้ยงเรียบงามนัก จักได้เห็นที่ต่อกันนั้นหามิได้ เกศเกล้าแห่งพระพรหมทั้งหลายนั้นงามนัก ปรากฏโดยมากมีศีรษะประดับด้วยชฎา สถิตย์เสวยสุขพรหมสมบัติอยู่ ณ พรหมภูมิที่ตนอุบัติตราบจน กว่าจะสิ้นอายุ ซึ่งเป็นเวลานานแสนนาน
 
(เป็นผู้วิเศษ ที่มีแต่เพศชาย ไม่ต้องกินดื่มอาหารใดๆ เหมือนสัตว์ในภูมิอื่นๆ จึงไม่ต้องมีการขับถ่ายของเสีย พระพรหมมีใบหน้ากลมเกลี้ยง มีแสงจากกายที่ส่องสว่างกว่าแสงพระอาทิตย์ และแสงพระจันทร์เป็นหลายพันเท่า โดยพิจารณาเพียงฝ่ามือข้างเดียวของพระพรหมที่แบออกนั้น ก็สามารถส่องแสงสว่างไปทั่วจักรวาลได้ อวัยวะใดๆที่ต้องมีรอยต่อกัน (เช่น บริเวณแขน ที่มีศอก และรอยพับ เชื่อมระหว่างแขนบน และแขนล่าง) ก็เกลี้ยง เรียบเนียน เส้นผมก็สวยงามมาก ซึ่งโดยมากจะมีชฏาประดับบนศีรษะ และอยู่เสวยสุขในชั้นพรหมของตนเอง จนกว่าจะสิ้นอายุขัย ซึ่งก็เป็นเวลาแสนนาน)
 
พรหมอุบัติ (ในทาง[[ศาสนาพุทธ|คติพุทธศาสนา]]) พระพรหม เกิดจากท่านผู้มีความเพียรกล้า ทรงไว้ซึ่งปัญญาเกินสามัญชน ปรารถนาจะพ้นจากกิเลสานุสัย เพราะเห็นว่ามีโทษพาให้ ยุ่งนัก ใคร่จักห้ามจิตมิให้ตกอยู่ในอำนาจกิเลส จึงสู้อุตสาหะพยายามบำเพ็ญสมถภาวนา ตามที่ท่านบุรพาจารย์สั่งสอนกันสืบๆ มา บางพวกเป็นชีป่าดาบส บางพวก ทรงพรตเป็นโยคี ฤๅษีในสมัยที่มีพระพุทธศาสนาเกิดขึ้น ในโลก บางพวกก็เป็นพระภิกษุสามเณร ต่างบำเพ็ญสมถภาวนา จนได้สำเร็จฌาน ครั้นถึงกาลกิริยาตายจากมนุษย์โลก จึงตรงไปอุบัติเกิดในพรหมวิมาน ณ พรหมโลก อันเป็นแดนซึ่งมีแต่สุขไม่มีเรื่องกามเข้าไปเกี่ยวข้อง ตามอำนาจฌานที่ได้บรรลุเป็นพระพรหมผู้วิเศษ
 
== พระพรหมใน[[มหายาน|คติพุทธศาสนามหายาน]] ==
ใน[[มหายาน|คติพุทธศาสนามหายาน]]นับถือพระพรหมในฐานะ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|เทวดา]][[ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์|ผู้รักษา]][[มหายาน|พระพุทธศาสนา]][[ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์|ที่สำคัญ]]ซึ่งปรากฎอยู่ใน[[พระไตรปิฎก|พระสูตร]]ต่างๆที่สำคัญใน[[มหายาน|พระพุทธศาสนา]]และถือเป็น[[พระโพธิสัตว์]]องค์หนึ่งใน[[มหายาน|คติพุทธศาสนามหายาน]]
 
== พระพรหมที่ปรากฎนามใน[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]และบทบาทที่สำคัญใน[[ศาสนาพุทธ|คติ]][[เถรวาท|พระพุทธศาสนา]]และความเชื่อของไทย ==
{| class="wikitable"
|-
เส้น 22 ⟶ 17:
 
|-
|[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)| ท้าวมหาพรหม]]
| คำเรียกรวมสำหรับ[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]]ทั้งหมดใน[[ศาสนาพุทธ|คติพระพุทธศาสนา]]หรือเรียกประมุขของ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ชาวสวรรค์]]ชั้น[[พรหมภูมิ]]
 
|-
| [[ท้าวสหัมบดีมหาพรหมพรหม]]
|ผู้เป็นอธิบดีของโลกและเป็นผู้อาธนาธรรมหลังจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า|สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]ทรงพิจารณา[[บัวสี่เหล่า]] และเป็นต้นกำเนิดของคำอาธนาธรรม
 
|-
| [[พระพรหม (ศาสนาฮินดู)|ท้าวมหาพรหมธาดาพระพรหมา]]
|เป็นคำเรียก[[พระพรหม]]ใน[[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพรามณ์-ฮินดู]] ซึ่งใน[[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพรามณ์-ฮินดู]]นับถือว่าเป็นพระผู้สร้างโลกและจักรวาล ซึ่งใน[[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพรามณ์-ฮินดู]]และมีเพียงพระองค์เดียว
|-
|[[ท้าวผกาพกพรหม]]
|[[ พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]]ผู้ที่[[พระโคตมพุทธเจ้า|สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]เสด็จไปปราบความคึดอันเป็น[[มิจฉาทิฏฐิ]]และเป็นที่มาของพระคาถาพาหุงบทที่แปด
 
|-
เส้น 45 ⟶ 40:
|}
 
==ระเบียงภาพ ==
==พระพรหมในคติ[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]] ==
 
<gallery>
เส้น 53 ⟶ 48:
</gallery>
 
[[หมวดหมู่:เทวดาพระพรหม]]
[[หมวดหมู่:บุคคลเทวดาในศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:เถรวาท]]
[[en:Brahmā (Buddhism)]]
{{เทวดา}}