ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรังซิสแห่งอัสซีซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 183.88.88.107 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย OctraBot
บรรทัด 19:
}}
 
'''นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 148</ref> ({{lang-en|Saint Francis of Assisi}}) มีนามเดิมว่า '''ฟรันเชสโก ดี ปีเอโตร ดี แบร์นาร์โดเน''' เป็น[[ไฟรเออร์]]และ[[นักเทศน์]]ในนิกาย[[โรมันคาทอลิก]][[ชาวอิตาลี]] ผู้ก่อตั้ง[[คณะฟรันซิสกัน]] [[คณะกลาริส]] และ[[คณะชั้นสามของนักบุญฟรังซิส]] แม้นักบุญฟรังซิสจะไม่ใช่[[บาทหลวง]] แต่ถือเป็นศาสนบุคคลที่ไดัรับการเคารพนับถือมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์<ref name = "EBO Francis">Brady, Ignatius Charles. "[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/216793/Saint-Francis-of-Assisi Saint Francis of Assisi]." Encyclopædia Britannica Online.</ref> • ฟรังซิส เกิดที่ประเทศอิตาลี เป็นบุตรชายพ่อค้าที่ร่ำรวย ขณะยังหนุ่ม เป็นคนชอบสนุกสนาน ไม่จริงจังกับชีวิต ครั้งหนึ่งท่านป่วยหนักและได้ยินพระเยซูเจ้า ตรัสเรียกท่าน ให้สละความสุขฝ่ายโลก แล้วติดตามพระองค์•
 
ในวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1228 ภราดาฟรันเชสโกได้รับ[[การประกาศเป็นนักบุญ|การประกาศเป็นนักบุ]] โดย[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9]] และได้รับยกย่องเป็น[[นักบุญองค์อุปถัมภ์]][[สัตว์]] [[สิ่งแวดล้อม]] [[พาณิชย์]] และ[[ประเทศอิตาลี]] นิกายโรมันคาทอลิกและแองกลิคันจึงมีพิธีอวยพรแก่สัตว์ทั้งหลายในวันฉลองนักบุญฟรังซิสซึ่งตรงกับวันที่ 4 ตุลาคมของทุกปี<ref name="dukemag">{{cite web |url= http://www.dukemagazine.duke.edu/dukemag/issues/111206/depobs.html|title= Blessing All Creatures, Great and Small|accessdate=2007-07-30 |publisher= ''Duke Magazine''|date= 2006-11}}</ref>
ท่านได้พยายามเจริญชีวิต ตามคำสั่งสอนของพระเยซูเจ้า โดยละความเห็นแก่ตัว และมอบตนเองแด่พระเจ้า เจริญชีวิตเรียบง่าย ช่วยเหลือคนจน จากนั้นท่านก็ได้สละทรัพย์สมบัติ อันเป็นมรดกทั้งหมด ต้องเที่ยวขอทานและทำงานรับใช้คนโรคเรื้อน•
 
ต่อมามีผู้เลื่อมใสศรัทธา ทั้งชายหญิงได้มาขอเจริญชีวิตกับท่าน ท่านเน้นสมาชิกต้องทำงานเลี้ยงชีพด้วยน้ำพักน้ำแรงของตน และนำทรัพย์สินทั้งวัตถุ และจิตใจมารวมเป็นกองกลางเพื่อแบ่งปันกัน สมาชิกเหล่านี้ได้พัฒนาเป็นคณะนักพรต "ฟรังซิสกัน" และคณะนักพรตหญิง "คลารีส" และคณะฆราวาสฟรังซิสกัน•
 
•สัญญาณแห่งความรักของฟรังซิสต่อพระเยซูเจ้าคือ บังเกิดรอยแผลเป็นแห่งพระมหาทรมานของพระเยซูเจ้า บนร่างกายของท่าน คือ ที่มือ ที่เท้า และที่สีข้าง ตลอดชีวิตของท่าน ท่านสวดภาวนาเมื่อใกล้สิ้นใจว่า        "พระเจ้าข้า ลูกขอบพระคุณพระองค์ ที่ทรงโปรดให้ลูกมีส่วน ในพระมหาทรมานของพระองค์"            
 
ในวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1228 ภราดาฟรันเชสโกได้รับ[[การประกาศเป็นนักบุญ|การประกาศเป็นนักบุ]] โดย[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9]] และได้รับยกย่องเป็น[[นักบุญองค์อุปถัมภ์]][[สัตว์]] [[สิ่งแวดล้อม]] [[พาณิชย์]] และ[[ประเทศอิตาลี]] นิกายโรมันคาทอลิกและแองกลิคันจึงมีพิธีอวยพรแก่สัตว์ทั้งหลายในวันฉลองนักบุญฟรังซิสซึ่งตรงกับวันที่ 4 ตุลาคมของทุกปี<ref name="dukemag">{{cite web |url= http://www.dukemagazine.duke.edu/dukemag/issues/111206/depobs.html|title= Blessing All Creatures, Great and Small|accessdate=2007-07-30 |publisher= ''Duke Magazine''|date= 2006-11}}</ref>
 
== อ้างอิง ==