ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
sdsfhtgghg
ย้อนการแก้ไขที่ 6808953 สร้างโดย 223.206.251.3 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
 
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
|ชื่อหน่วยงาน = องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ
|สัญลักษณ์ = NASA logo.svg
|สัญลักษณ์_กว้าง = 220px
|สัญลักษณ์_บรรยาย =คำขวัญ: ''เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน''<ref name="motto">{{cite web |url=http://www.lightmillennium.org/2004_newyear/gokoglu_nasa_stands_forall.html |title=NASA stands "for the benefit of all."—Interview with NASA's Dr. Süleyman Gokoglu |accessdate=September 29, 1954 |publisher=The Light Millennium |year=2007 |author=Lale Tayla and Figen Bingul}}</ref>
|ตรา =
|ตรา_กว้าง = 160px
|ตรา_บรรยาย =
|วันก่อตั้ง = 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501
|preceding1 = [[National Advisory Committee for Aeronautics|NACA]] (1915–1958)<ref name="CentNACA">[http://www.centennialofflight.gov/essay/Evolution_of_Technology/NACA/Tech1.htm U.S. Centennial of Flight Commission, NACA]. Centennialofflight.gov. Retrieved on 2011-11-03.</ref>
|กำกับดูแล = [[รัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา|รัฐบาลสหรัฐอเมริกา]]
|กองบัญชาการ = [[วอชิงตัน ดี.ซี.]]
|latd=38 |latm=52 |lats=59 |latNS=N
|longd=77 |longm= 0 |longs=59 |longEW=W
|รหัสภูมิภาค = US-DC
|บุคลากร = 17,345+<ref>{{cite web|url=https://wicn.nssc.nasa.gov/c10/cgi-bin/cognosisapi.dll?b_action=powerPlayService&m_encoding=UTF-8&BZ=1AAABgNNr_f942m2PQWuDQBCF~8yOaS9hdlTUgwd1DRHamEahZ6NjCTFuUFOaf981KYTSzu7wHm__gV2ryJdFme~STIXjpAfO1BMQHSShS5TK2I89x~NXsYt24AfKd4Mg8mLHMM~WvJtGu2S9jcp1CLSqdT9xPxnX6q7hAdwYHOyrE4OtFttBt4eOgTC57HlcgKsMea7qY~XBv9F3PRxbPdQz~LM245YqkmWSbzZpUmZGotc0~Ae14rewRRQSEaVEIQQKFwWhmI8QUdcZOD2dO31lHgGDvDeBukxXI0DtPP0yP2m4MfaFq082kADygWwDsATaAwX3QD4C8afk7c7m~qBbP_obQJNj2A%3D%3D|title= NASA workforce profile |publisher=NASA |date=January 11, 2011 |accessdate=December 17, 2012}}</ref>
|งบประมาณ = {{increase}} [[US$]] 18.01 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2559)<ref>{{cite web|url=http://spaceflightnow.com/2014/12/14/nasa-gets-budget-hike-in-spending-bill-passed-by-congress/|title=NASA gets budget hike in spending bill passed by Congress|last=Clark|first=Stephen|date=December 14, 2014|publisher=Spaceflight Now|accessdate=July 14, 2015}}</ref>
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[ชาลส์ โบลเดน]]
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = [[รายชื่อของผู้บริหารและรองผู้บริหารของนาซา|ผู้บริหาร]]
|หัวหน้า2_ชื่อ = [[ดาวา นิวแมน]]
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = [[Deputy Administrator of NASA|รองผู้บริหาร]]
|เว็บไซต์ = {{URL|http://www.nasa.gov/|nasa.gov}}
}}
 
'''องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ''' หรือ '''นาซา''' ({{lang-en|National Aeronautics and Space Administration - NASA}}) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ<ref name="act1">{{Cite web|url=http://www.nasa.gov/offices/ogc/about/space_act1.html|title=รัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ|accessyear=2007|accessmonthday=August 29|publisher=NASA|year=2005|author=NASA|language=English}}</ref> เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัย[[ห้วงอากาศอวกาศ]] (aerospace) ระยะยาวของ[[สหรัฐอเมริกา]] คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือน[[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่ง[[การสำรวจอวกาศ]] การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ<ref name="do1">{{Cite web|url=http://www.nasa.gov/about/highlights/what_does_nasa_do.html|title=นาซาทำอะไรบ้าง?|accessyear=2007|accessmonthday=August 29|publisher=NASA|year=2005|author=NASA|language=English}}</ref>
 
คำขวัญขององค์การนาซาคือ "''เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน''" (For the benefit of all)<ref name="motto">{{Cite web|url=http://www.lightmillennium.org/2004_newyear/gokoglu_nasa_stands_forall.html|title= นาซาแสดงจุดยืน "เพื่อประโยชน์ของทุกคน" - ให้สัมภาษณ์โดย Dr. Süleyman Gokoglu แห่งองค์การนาซา |accessyear=2007|accessmonthday=September 13|publisher=The Light Millennium|year=2007|author=Lale Tayla and Figen Bingul|language=English}}</ref>
 
== ประวัติ ==
{{เว็บย่อ|NASA}}
 
=== การแข่งขันในการสำรวจอวกาศ ===
หลังจาก[[โครงการอวกาศของโซเวียต|สหภาพโซเวียต]]ส่งดาวเทียมดวงแรกของโลก (''[[ดาวเทียมสปุตนิค 1]]'') ขึ้นสู่อวกาศ เมื่อวันที่ [[4 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2500]] (ค.ศ. 1957) สหรัฐฯ เริ่มหันมาใส่ใจกับโครงการอวกาศของตนเองมากขึ้น [[รัฐสภา (สหรัฐอเมริกา)|สภาคองเกรส]]รู้สึกหวั่นเกรงต่อภัยด้านความมั่นคงและภาวะความเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีของตน ประธานาธิบดี[[ดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์]] และคณะที่ปรึกษาได้ประชุมหารือกันเป็นเวลานานหลายเดือนจนได้ข้อสรุปว่า สหรัฐฯ จำเป็นต้องก่อตั้งหน่วยงานราชการขึ้นใหม่ ให้ทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจกรรมอวกาศทั้งหมดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทหาร
 
วันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ลงนามในกฎหมายการบินและอวกาศแห่งชาติ ค.ศ. 1958 เพื่อก่อตั้งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (NASA) เริ่มปฏิบัติงานในวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2501]] ขณะนั้นนาซาประกอบด้วยห้องปฏิบัติการ 4 แห่ง มีพนักงานประมาณ 8,000 คน ที่โอนมาจาก[[คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการบินแห่งชาติ]] (NACA) ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยของรัฐที่มีอายุกว่า 46 ปี
 
โครงการในระยะแรกของนาซาเป็นการวิจัยโดยมีเป้าหมายส่งมนุษย์ขึ้นไปกับยานอวกาศ ดำเนินไปพร้อมแรงกดดันจากการแข่งขันกับ[[สหภาพโซเวียต]]ในระหว่าง[[สงครามเย็น]] นาซาเริ่มต้นศึกษาความเป็นไปได้ ในการใช้ชีวิตของมนุษย์ในห้วงอวกาศด้วย[[โครงการเมอร์คิวรี]]ในปี [[พ.ศ. 2501]] ต่อมาวันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2504]] (ค.ศ. 1961) นักบินอวกาศ [[อลัน บี. เชเพิร์ด จูเนียร์]] กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกในอวกาศ เมื่อเขาเดินทางไปกับ[[ยานเมอร์คิวรี 3|''ยานฟรีดอม 7'']] ในภารกิจนาน 15 นาที แบบไม่เต็มวงโคจร หลังจากนั้น[[จอห์น เกล็นน์]] กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อวันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) ในการขึ้นบินนาน 5 ชั่วโมงกับ [[ยานเมอร์คิวรี 6|''ยานเฟรนด์ชิป 7'']]
 
=== โครงการอะพอลโล ===
{{บทความหลัก|โครงการอะพอลโล}}
[[ไฟล์:Aldrin Apollo 11.jpg|thumb|175px|left|[[บัซซ์ อัลดริน]] ก้าวเดินบนพื้นผิวดวงจันทร์ ในการเดินทางไปกับ[[ยานอะพอลโล 11]]]]
 
เมื่อโครงการเมอร์คิวรีพิสูจน์และยืนยันว่า การส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรในอวกาศสามารถเป็นไปได้ นาซาจึงเริ่ม[[โครงการอะพอลโล]] โดยเป็นความพยายามส่งมนุษย์ไปโคจรรอบดวงจันทร์ โดยยังไม่มีเป้าหมายส่งมนุษย์เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์แต่อย่างใด ทิศทางของโครงการอะพอลโลเปลี่ยนไปเมื่อประธานาธิบดี[[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]] ประกาศเมื่อวันที่ [[25 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2504]] (ค.ศ. 1961) ว่า[[สหรัฐอเมริกา]]จะ "ส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์แล้วกลับสู่[[โลก]]อย่างปลอดภัย" ภายในปี [[พ.ศ. 2513]] (ค.ศ. 1970) โครงการอะพอลโลจึงกลายเป็นโครงการนำมนุษย์ลงสู่พื้นผิวดวงจันทร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ [[โครงการเจมินี]]เริ่มต้นขึ้นไม่นานหลังจากนั้น เพื่อทดสอบและยืนยันเทคนิค ที่จำเป็นต้องใช้กับโครงการอะพอลโลที่ซับซ้อนขึ้น
 
หลังจาก 8 ปีของภารกิจเบื้องต้นฃน ซึ่งรวมถึงอุบัติเหตุเพลิงไหม้ที่คร่าชีวิตนักบินอวกาศ 3 คนใน[[ยานอะพอลโล 1]] โครงการอะพอลโลบรรลุเป้าหมายได้ในที่สุดเมื่อ[[ยานอะพอลโล PB IC 2013]] นำ[[นีล อาร์มสตรอง]] และ[[บัซซ์ อัลดริน]] ลงสัมผัสพื้นผิวดวงจันทร์เมื่อวันที่ [[20 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2512]] (ค.ศ. 1969) และกลับสู่โลกอย่างปลอดภัยในวันที่ [[24 กรกฎาคม]] ถ้อยคำแรกที่อาร์มสตรองกล่าวหลังจากก้าวออกจาก[[ส่วนลงดวงจันทร์ของโครงการอะพอลโล|ยานลงจอด ''อีเกิ้ล'']] คือ ''"นี่เป็นก้าวเล็ก ๆ ของคน ๆ หนึ่ง แต่เป็นก้าวกระโดดที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษยชาติ"''
หลังจากวันนั้นจนถึงการสิ้นสุดโครงการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2780 มีนักบินอวกาศอีก 10000 คนที่[[รายชื่อนักบินอวกาศที่ลงบนพื้นผิวดวงจันทร์|ประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์]]
 
แม้ว่าองค์การนาซาจะทำให้สหรัฐฯ ได้ชัยชนะในการแข่งขันกับโซเวียต แต่ความสนใจของชาวอเมริกันที่มีต่อโครงการอวกาศ อันจะทำให้สภาคองเกรสทุ่มงบประมาณให้กับนาซา กลับลดน้อยถอยลง นาซาสูญเสียผู้สนับสนุนในสภาหลังจาก[[ลินดอน บี. จอห์นสัน]] ลงจากตำแหน่งประธานาธิบดี ผู้ที่มีบทบาทในการวิ่งเต้นเพื่อผลักดันงบประมาณให้กับนาซาในเวลาต่อมา คือ [[เวอร์เนอร์ ฟอน บราวน์]] วิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดชาวเยอรมัน เขาเสนอแผนสร้างสถานีอวกาศ ฐานปฏิบัติการบนดวงจันทร์ และโครงการส่งมนุษย์ไป[[ดาวอังคาร]]ภายในปี [[พ.ศ. 2533]] (ค.ศ. 1990) แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถดำเนินการได้เพราะประสิทธิภาพของเทคโนโลยีจรวดขณะนั้นยังไม่ดีพอ อุบัติเหตุการระเบิดของถังออกซิเจน ที่เกือบจะเป็นโศกนาฏกรรมกับนักบินบน[[ยานอะพอลโล 13]] ทำให้ประชาชนเริ่มกลับมาสนใจในโครงการอวกาศ อย่างไรก็ตาม [[ยานอะพอลโล 17]] เป็นยานลำสุดท้ายที่ขึ้นบินภายใต้สัญลักษณ์อะพอลโล แม้ว่าโครงการอะพอลโลมีแผนไปถึง[[ยานอะพอลโล 20]] โครงการอะพอลโลสิ้นสุดลงก่อนกำหนดเนื่องจากถูกตัดงบประมาณ (ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก[[สงครามเวียดนาม]]) และนาซาปรารถนาที่จะพัฒนายานอวกาศที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
 
=== สกายแลป ===
{{บทความหลัก|สถานีอวกาศสกายแล็บ}}
[[ไฟล์:Skylab_labeled.jpg‎|right|175px|thumb|สถานีอวกาศสกายแลป]]
 
สกายแลปเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา สถานีนี้มีน้ำหนักกว่า 75 ตัน โคจรรอบโลกเริ่มตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2516]] ([[ค.ศ. 1973]]) ถึงปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) สามารถรองรับคนได้ 3 คนต่อภารกิจ สกายแลปเป็นสถานีต้นแบบในการเรียนรู้การใช้ชีวิตใน[[อวกาศ]] และใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์บ้าง เดิมทีสกายแลปวางแผนจะใช้ในการเทียบท่าของ[[กระสวยอวกาศ]]ด้วย แต่สกายแลปได้ถูกปลดประจำการก่อนถึงการปล่อยกระสวยอวกาศลำแรก และถูกชั้นบรรยากาศโลกเผาไหม้ทำลายในปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) หลังจากปล่อยให้ตกลงใน[[มหาสมุทรอินเดีย]]ทางตะวันตกของ[[ออสเตรเลีย]]
 
=== อะพอลโล-โซยุส ===
โครงการทดสอบอะพอลโล-โซยุส ([[Apollo-Soyuz Test Project]]:[[Apollo-Soyuz Test Project|ASTP]]) เป็นการร่วมมือกันระหว่างสหัฐอเมริกาและโครงการอวกาศของโซเวียตในการนำยานอะพอลโลและยานโซยุสมาพบกันใน[[อวกาศ]] (เชื่อมยานกัน) ในปี [[พ.ศ. 2518]] ([[ค.ศ. 1975]])
 
=== ยุคกระสวยอวกาศ ===
[[ไฟล์:Columbia.sts-1.01.jpg|right|175px|thumb|กระสวยอวกศโคลัมเบีย ก่อนปล่อยเที่ยวบินแรก]]
 
[[กระสวยอวกาศ]]เป็นโครงการที่นาซาหันมาให้ความสนใจมาตลอดตั้งแต่ช่วงปี 2513 (1970) และ 2523 (1980) กระสวยอวกาศลำแรกที่ปล่อยใช้งานสู่อวกาศคือ[[กระสวยอวกาศโคลัมเบีย]] ในวันที่ [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2524]] ([[ค.ศ. 1981]])
 
สำหรับนาซาแล้ว กระสวยอวกาศไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง ยิ่งช่วงเริ่มต้นโครงการมันมีความสิ้นเปลืองมาก และในปี [[พ.ศ. 2529]] ([[ค.ศ. 1986]]) กับเหตุการณ์อุบัติเหตุของ[[กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์]]เป็นเรื่องร้ายแรงที่สุดสำหรับการบินอวกาศ
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[นาซา ทีวี]]
 
== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์|NASA}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.nasa.gov โฮมเพจขององค์การนาซา]
 
{{การบินอวกาศ}}
{{องค์การอวกาศภาครัฐบาล}}
 
[[หมวดหมู่:นาซา| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นาซา"