ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญามังราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KengSiri (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nupkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
พระองค์เป็นพระราชโอรสของ[[ลาวเมง]] พระมหากษัตริย์แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงราว กับ[[นางเทพคำขยาย]] พระราชธิดาของ[[ท้าวรุ่งแก่นชาย]] พระมหากษัตริย์แห่ง[[เชียงรุ่ง|เมืองเชียงรุ่งสิบสองพันนา]]<ref name = "prasoet-267"/>
 
ทรงเป็นพระสหายกับ พ่อขุนรามคำแหง และพ่อขุนพญางำเมือง เมื่อสมัยพ่อขุนรามคำแหงได้เป็นชู้กับพระนางอั้วเชียงแสน พระเยาว์มเหสีของพญางำเมือง พญามังรายก็ได้ทรงเล่าเรียนช่วยตัดสินคดีความให้ และร่วมสาบานเป็นพระสหายกันที่เขาสมอคอน ลพบุรี<ref>ศิลปวัฒนธรรม 11 กันยายน 2544 หน้า 68</ref>ริมแม่น้ำอิง
 
== การรวบรวมแผ่นดิน ==
บรรทัด 56:
== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ==
 
พญามังรายทรงมีสัมพันธไมตรีกับ[[พญางำเมือง]] พระมหากษัตริย์แห่ง[[แคว้นพะเยา]] และ[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]] พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรสุโขทัย]] โดยทั้งสามพระองค์เป็นศิษย์สำนักเดียวกันที่เมืองละโว้พระสหายร่วมสาบานกันด้วย<ref name = "prasoet-269">ประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 269.</ref> ทั้งสามพระองค์เป็นพระสหายร่วมสาบานกันด้วย<ref name = "prasoet-269"/>
 
เมื่อพญามังรายจะทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนาที่เมืองเชียงใหม่นั้น ก็ได้ทรงปรึกษากับพระสหายทั้งสอง พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงแนะนำว่า ควรลดขนาดเมืองลดครึ่งหนึ่ง จากเดิมวางผังให้ยาวด้านละสองพันวา เพราะเมื่อเกิดศึกสงครามในอนาคต ผู้คนที่ไม่มากพอจะไม่อาจปกปักรักษาบ้านเมืองที่กว้างขวางถึงเพียงนั้นได้ และพญามังรายทรงเห็นชอบด้วย<ref name = "prasoet-269"/>
บรรทัด 72:
วินิจฉัยมังรายฉบับเก่าแก่ที่สุดหลงเหลือมาถึงปัจจุบันเพียงฉบับเดียว คือ ที่พบ ณ [[วัดเสาไห้]] คัดลอกเอาไว้เมื่อ พ.ศ. 2342 และต่อมา [[ราชบัณฑิตยสถาน]]แปลเป็นภาษาปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2514<ref name = "prasoet-269"/>
 
อนึ่ง พญามังรายทรงให้ช่างก่อ[[เจดีย์กู่คำ]] ณ [[วัดเจดีย์เหลี่ยม]] เวียงกุมกาม<ref>ประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 269-270.</ref> พญามังรายยังโปรดให้นายช่างชื่อ การโถม สร้างอารามพระอาหารขึ้นที่เมืองน่าน กับทั้งทรงสร้างพระพุทธมหาปฏิมากรห้าพระองค์ สูงใหญ่เท่าพระวรกายของพระองค์ ตลอดจนมหาวิหารและเจดีย์อีกเป็นมากไว้ที่วัดดังกล่าวด้วย<ref name = "prasoet-270">ประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 270.</ref> นายช่างการโถมปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้เขาไปครองเมืองรอย (ต่อมาสถาปนาเป็น[[เมืองเชียงแสน]])<ref name = "prasoet-270"/> และพระราชทานนามวัดนั้นว่า "วัดการโถม" (ปัจจุบันคือ [[วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร]] [[อำเภอเมืองน่าน]] [[จังหวัดน่าน]]จ.เชียงใหม่)<ref name = "prasoet-270"/>
 
== พระราชวงศ์ ==
 
พญามังรายมีพระราชบุตรเท่าใดไม่ปรากฏชัด แต่ปรากฏว่า พระราชบุตรพระองค์หัวปี พระนามว่า ขุนเครื่อง นั้น ทรงให้ไปครองเมืองเชียงราย แต่ภายหลังคิดกระบถขบถ จึงทรงให้คนไปฆ่าทิ้งเสีย<ref name = "prasoet-270"/> พระราชบุตรพระองค์ที่สอง คือ ขุนคราม ผู้ตีได้นครเขลางค์ดังกล่าวข้างต้น และพระองค์ที่สาม คือ ขุนเครือ โปรดให้กินเมืองพร้าว แต่ต่อมาถูกพระองค์เนรเทศไปเมืองกองใต้ และชาวไทยใหญ่พากันสร้างเมืองใหม่ให้ขุนเครือปกครองแทน<ref name = "prasoet-270"/>
 
== สวรรคต ==