ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมดุลเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 20:
:<math>\alpha A +\beta B ... \rightleftharpoons \rho R+\sigma S ...</math>
 
'''ค่าคงที่สมดุลไดนามิกส์''' (''K''<sup>[[Fileไฟล์:StrikeO.png]]</sup>)ถูกนิยามขึ้น โดย สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC )<ref>F.J,C. Rossotti and H. Rossotti, The Determination of Stability Constants, McGraw-Hill, 1961. p. 5</ref><ref> IUPAC Green Book, 3rd edition, p58 [http://media.iupac.org/publications/books/gbook/IUPAC-GB3-2ndPrinting-Online-22apr2011.pdf pdf ]</ref> ดังนี้
 
:<math>K^\ominus =\frac{{\{R\}} ^\rho {\{S\}}^\sigma ... } {{\{A\}}^\alpha {\{B\}}^\beta ...}</math>
 
เมื่อ {A} คือ [[แอกทิวิตี]] (activity)ของสาร A, {B} คือ แอกทิวิตีของสาร B, ... ทั้งนี้ การแสดงความสัมพันธ์ข้างต้น เป็นการพิจารณาการเปลี่ยนแปลง[[พลังงานอิสระกิ๊บส์]] (Gibbs free energy) แต่ในทางปฏิบัติแล้ว เรานิยมใช้[[ความเข้มข้น]]ของสาร อาทิ [A], [B], ... มากกว่าการใช้แอกทิวิตี และใช้ '''ผลหารความเข้มข้น''' (concentration quotient, ''K''<sub>c</sub>) มากกว่า ''K''<sup>[[Fileไฟล์:StrikeO.png]]</sup> ดังสมการ
 
 
:<math>K_c=\frac{{[R]} ^\rho {[S]}^\sigma ... } {{[A]}^\alpha {[B]}^\beta ...}</math>
 
เมื่อ ''K<sub>c</sub>'' เท่ากับค่าคงที่สมดุลทาง[[เทอร์โมไดนามิกส์]] หารด้วย '''ผลหารสัมประสิทธิ์แอกทิวิตี''' (quotient of activity coefficients) เมื่อมีค่าเท่ากับ 1 จะได้ว่า ''K''<sub>c</sub> = ''K''<sup>[[Fileไฟล์:StrikeO.png]]</sup>
 
==ตัวอย่างสมดุลเคมีที่สำคัญ==
บรรทัด 82:
</math>
 
เมื่อ ''K''<sup>[[Fileไฟล์:StrikeO.png]]</sup> ค่าคงที่ของการละลายทาง[[เทอร์โมไดนามิกส์]] และคำนวณโดยใช้ค่าแอกทิวิตีของ[[ไอออน]]ต่างๆในระบบ อย่างไรก็ตาม ของแข็งมีค่าแอกทิวิตีเท่ากับ 1 และเมื่อเราพิจารณาโดยใช้ความเข้มข้นของไอออนค่าคงที่จะเรียกว่า ค่าคงที่ผลคูณไอออน (ionic solubility product: K<sub>sp</sub>)
 
:<math>K_{\mathrm{sp}} = \left[\mbox{Ca}^{2+}(aq)\right]\left[\mbox{SO}_4^{2-}(aq)\right].\,</math>