ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศตองงา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 88:
=== จักรวรรดิตูอีโตงา ===
[[ไฟล์:Tonga-Samoa-Fidschi.png|thumbnail|200px|left|อาณาเขตจักรวรรดิตูอีโตงา]]
ประมาณ [[ค.ศ. 950]] [[พระเจ้าอะโฮเออิตู|อะโฮเออิตู]]ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น[[ตูอีโตงา]]แห่ง[[จักรวรรดิตูอีโตงา]]พระองค์แรก<ref name="tu'i tonga">{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=69&Itemid=82|title=Tu'i Tonga|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> จักรวรรดิตูอีโตงาเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในรัชสมัย[[พระเจ้าโมโม]] [[พระเจ้าตูอิตาตูอิ]] และ[[พระเจ้าตาลาตามา]] ซึ่งพระมหากษัตริย์ทั้ง 3 พระองค์ได้ขยายอาณาเขตของจักรวรรดิจนมีอาณาเขตครอบคลุมบางส่วนของ[[ฟีจี]] [[ซามัว]] [[โตเกเลา]] [[นีวเว]]และ[[หมู่เกาะคุก]]<ref name="tu'i tonga"/> บรรดาดินแดนในการปกครองเหล่านี้จะส่งบรรณาการที่เรียกว่า ''อีนาซี'' ซึ่งต้องส่งมาถวาย[[ตูอีโตงา]]ที่เมือง[[มูอา]]อันเป็นนครหลวงของจักรวรรดิทุกปีในฤดูเก็บเกี่ยว<ref> St. Cartmail, Keith (1997). The art of Tonga. Honolulu, Hawai'i: University of Hawai'i Press. p. 39. ISBN 0-8248-1972-1.</ref> อำนาจของจักรวรรดิตูอีโตงาเริ่มตกต่ำลงหลังจากเกิดเหตุลอบปลงพระชนม์ตูอีโตงาหลายพระองค์<ref>{{cite journal|url=http://www.jstor.org/pss/2842790|journal=The Journal of the Anthropological Institute of Great Britain and Ireland|title=Note Upon the Natives of Savage Island, or Niue|last=Thomson|first=Basil|volume=31|date=January 1901|page=137|publisher=Royal Anthropological Institute of Great Britain and Ireland}}</ref> ส่งผลให้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 [[พระเจ้าเกาอูลูโฟนูอา]]ตูอีโตงาพระองค์ที่ 24 ตั้งพระอนุชาของพระองค์คือ[[พระเจ้าโมอูงาโมตูอา|เจ้าชายโมอูงาโมตูอา]]ขึ้นเป็น[[ตูอิฮาอะตากาเลาอา]]พระองค์แรก เพื่อช่วยเหลือตูอีโตงาในการปกครองจักรวรรดิ<ref>{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=67&Itemid=80|title=Tu'i Ha'atakalaua|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> และอีก 2 ศตวรรษต่อมาได้มีการตั้งราชวงศ์[[ตูอิกาโนกูโปลู]]ขึ้นเพื่อช่วยเหลืออีก 2 ราชวงศ์ในการปกครองจักรวรรดิ<ref name="Kanokupolu">{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=68&Itemid=81|title=Tu'i Kanokupolu|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> ซึ่งต่อมาตูอิกาโนกูโปลูสามารถก้าวขึ้นมาเป็นราชวงศ์ที่มีอิทธิพลแทนที่ตูอิฮาอะตากาเลาอาได้<ref name="Kanokupolu"/>
[[ไฟล์:Captainjamescookportrait.jpg|thumbnail|150px|กัปตัน[[เจมส์ คุก]]]]
ในยุคจักรวรรดิตูอีโตงานี้ มีนักสำรวจชาวยุโรปเดินทางเข้ามาหลายกลุ่ม โดยนักสำรวจที่เดินทางเข้ามาเป็นกลุ่มแรกนั้นเป็นนักสำรวจ[[ชาวดัตช์]]ชื่อว่า[[ยาค็อบโกบ เลอแมร์ แมเรอ]] และ[[วิลเลมวิลเลิม ชูเต็นสเคาเติน]] ซึ่งเดินทางมาถึงจักรวรรดิตูอีโตงาในปี ค.ศ. 1616<ref name="mission">Charles F. Urbanowicz, ''[http://www.csuchico.edu/~curbanowicz/MotivesAndMethods.pdf Motives and Methods: Missionaries in Tonga In the Early 19th Century]</ref> ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิเกิดสงครามกลางเมือง<ref name="James"> James B. Minahan, ''Ethnic Groups of South Asia and the Pacific: An Encyclopedia'' (Santa Barbara, Calif. : ABC-CLIO)</ref> โดยเข้ามาสำรวจในบริเวณ[[เกาะ]][[นีอูอาโตปูตาปู]]<ref name="expo">{{cite web|url=http://www.ciaworldfactbook.us/oceania/tonga.html|title=Tonga|publisher=CIA World Factbook - The best country factbook available online|date=30 January 2014}}</ref> ในปี ค.ศ. 1643 [[แอเบลอาเบิล แทสมันตัสมัน]] ได้เดินทางเข้ามาในตองงาในบริเวณ[[เกาะ]][[โตงาตาปู]]และ[[ฮาอะไป]]<ref name="expo"/> แต่การเดินทางเข้ามาทั้ง 2 ครั้งของชาวยุโรปนี้ ยังไม่มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองอย่างเป็นทางการมากเท่าใดนัก<ref name="James"/> การติดต่อกับชาวพื้นเมืองอย่างเป็นทางการของชาวยุโรปและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในจักรวรรดิคือการเดินทางเข้ามาสำรวจของกัปตัน[[เจมส์ คุก]] ในปี ค.ศ. 1773 1774 และ 1777<ref name="James"/> ซึ่งเจมส์ คุกได้ตั้งชื่อหมู่เกาะนี้ว่า "หมู่เกาะมิตรภาพ" (Friendly Islands) โดยชื่อนี้มาจากความประทับใจของเจมส์ คุก ต่อลักษณะนิสัยของชาวพื้นเมือง<ref name="James"/> หลังจากนั้น[[อเลสซานโดร มาลาสปินา]]เข้ามาสำรวจตองงาในปี ค.ศ. 1793<ref name="James"/> ในปี ค.ศ. 1797 หลังจากการเข้ามาของ อเลสซานโดรของอเลสซานโดร มาลาสปินาได้มีมิชชันนารีเข้ามาเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ให้แก่ชาวพื้นเมือง โดยคณะแรกที่เข้ามานั้นคือ London Missionary Society แต่มิชชันนารีกลุ่มนี้ไม่ประสบความสำเร็จมากนักในการเผยแผ่ศาสนา<ref name="mission"/> อย่างไรก็ตามมิชชันนารีในคณะเวสเลยันที่เข้ามาในตองงาปี ค.ศ. 1822 ประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาและเป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้[[พระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 1|เตาฟาอาเฮา]]ได้รับชัยชนะในสงครามกลางเมือง<ref name="mission"/>
 
ในช่วงปลายของจักรวรรดิเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างผู้นำตามเกาะต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มที่นับถือศาสนาพื้นเมืองกับกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์<ref name="common">{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/our-member-countries/tonga/history|title=Tonga : History|publisher=The Commonwealth|date=31 January 2014}}</ref> สงครามกลางเมืองครั้งนี้มีสาเหตุมาจากการลอบปลงพระชนม์[[ตูอิกาโนกูโปลู]][[พระเจ้าตูกูอาโฮ]]<ref>Ames J. Fox and Clifford Sather, Origins, Ancestry and Alliance: Explorations in Austronesian Ethnography (Canberra : ANU E Press, 2006)</ref> ในท้ายที่สุดตูอิกาโนกูโปลู[[พระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 1|เตาฟาอาเฮา]] ซึ่งเป็นกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์ได้รับชัยชนะและรวมดินแดนที่แตกแยกเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันในปี ค.ศ. 1845<ref name="common"/>