ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
<imagemap>
ไฟล์:Sumatran Rhino range.svg|230px|Sumatran Rhino range
circle 320 510 12 [[อุทยานแห่งชาติทาตามันเนการาเนอการา]]
circle 595 505 12 [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตามิน]]
circle 250 550 12 [[อุทยานแห่งชาติกูนุงละอูเซร์]]
บรรทัด 53:
 
กระซู่มีสาม[[สปีชีส์ย่อย]]:
* '''''D.s. sumatrensis''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันตก''' มีเหลืออยู่ราว 75-85 ตัวเท่านั้น ส่วนใหญ่พบอยู่ในอุุทยานแห่งชาติ Bukit Barisan Selatan และ Gunung Leuser บนเกาะสุมาตรา ปัจจัยคุกคามหลักของสปีชีส์ย่อยนี้คือการสูญเสียถิ่นอาศัยและการดักจับอย่างผิดกฎหมาย มีความแตกต่างทาง[[พันธุศาสตร์|พันธุกรรม]]เล็กน้อยระหว่างแรดสุมาตราตะวันตกและตะวันออก<ref name="IUCN Dss">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6556 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' sumatrensis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> กระซู่ในทางคาบสมุทรมาเลเซียตะวันตกมีอีกชื่อหนึ่งคือ ''D.s. niger'' แต่ภายหลังพบว่าเป็นสปีชีส์ย่อยเดียวกับกระซู่ทางตะวันตกของสุมาตรา<ref name=Taxhistory>{{Cite journal | author = Rookmaaker, L.C. | year = 1984 | title = The taxonomic history of the recent forms of Sumatran Rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Journal of the Malayan Branch of the Royal Asiatic Society | volume = 57 | issue = 1 | pages = 12–25 }}</ref>
 
* '''''D.s. harrissoni''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันออก''' หรือ '''แรดบอร์เนียว''' พบตลอดทั้งเกาะ[[บอร์เนียว]] ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้ว เหลือเพียง 3 ตัวในที่เลี้ยง เป็นตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมียอีก 2 ตัว ซึ่งทั้งสามตัวนี้ไม่พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ตัวเมียทั้งคู่ (ชื่อ Puntung and Iman) มีสุขภาพที่ไม่ดี และไม่พร้อมที่จะตั้งท้อง ส่วนตัวผู้เพียงตัวเดียว (ชื่อ Tam) มีอัตราการสร้างอสุจิที่ต่ำ และอ่อนแอ<ref name="">Sandra Sokial (15 September 2015). "Sumatran rhinos living on borrowed time in Sabah". The Rakyat Post. Retrieved 30 September 2015</ref> นอกจากนี้ยังมีรายงานที่ไม่มีการยืนยันว่าพบแรดบอร์เนียวใน[[รัฐซาราวะก์]]และ[[กาลิมันตัน]]<ref name="IUCN Dsh">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6555 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' harrissoni'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อของสปีชีส์ย่อยนี้ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ ทอม แฮร์ริสัน (Tom Harrisson) ผู้ซึ่งทำงานในด้านสัตววิทยาและมานุษยวิทยาในบอร์เนียวอย่างยาวนานในคริสต์ทศวรรษ 1960<ref>{{Cite journal | title = Description of a new subspecies of Rhinoceros, from Borneo, ''Didermocerus sumatrensis harrissoni'' | author = Groves, C.P. | year = 1965 | journal = Saugetierkundliche Mitteilungen | volume = 13 | issue = 3 | pages = 128–131 }}</ref> แรดบอร์เนียวมีขนาดเล็กกว่าอีกสองสปีชีส์ย่อย<ref name=Taxhistory/>
บรรทัด 75:
[[ไฟล์:TamanNegara SungeiTembeling.jpg|thumb|[[อุทยานแห่งชาติทามันเนการา]]เป็นที่แห่งเดียวที่ทราบว่ามีประชากรกระซู่อยู่]]
[[ไฟล์:Cloud forest mount kinabalu.jpg|thumb|[[ป่าเมฆ]]ใน[[รัฐซาบาห์]], [[บอร์เนียว]]]]
กระซู่อาศัยอยู่ได้ทั้งพื้นราบและที่สูงใน[[ป่าดิบชื้น]] ป่าพรุ และ[[ป่าเมฆ]] ในบริเวณที่เต็มไปด้วยเนินสูงชันใกล้กับแหล่งน้ำโดยเฉพาะหุบลำธารสูงชันที่เต็มไปด้วยพุ่มไม้ กระซู่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนเหนือของ[[พม่า]] ทางตะวันออกของ[[อินเดีย]] และ[[บังคลาเทศ]] ยังมีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่าพบกระซู่ใน[[กัมพูชา]] [[ลาว]] และ [[เวียดนาม]] แต่ประชากรเท่าที่ทราบว่ายังมีเหลือรอดนั้น อยู่ใน[[มาเลเซียตะวันตก|คาบสมุทรมาเลเซียตะวันตก]] เกาะ[[สุมาตรา]] และ[[รัฐซาบาห์]]บนเกาะ[[บอร์เนียว]] นักอนุรักษ์ธรรมชาติบางคนหวังว่าอาจยังมีกระซู่หลงเหลืออยู่ในพม่าถึงแม้ว่ามันอาจไม่น่าเป็นไปได้ ปัญหาความยุ่งเหยิงทางการเมืองของพม่าทำให้การประเมินหรือการศึกษาของความน่าจะเป็นของกระซู่ที่คาดว่าจะหลงเหลืออยู่ไม่สามารถกระทำได้<ref name=Foose>{{Cite book | last = Foose | first = Thomas J. and van Strien, Nico | year = 1997 | title = Asian Rhinos – Status Survey and Conservation Action Plan | publisher = IUCN, Gland, Switzerland, and Cambridge, UK | isbn = 2-8317-0336-0}}</ref>
 
กระซู่มีพิสัยกระจัดกระจายเป็นวงกว้างมากกว่าแรดเอเชียชนิดอื่น ทำให้ยากต่อการอนุรักษ์สปีชีส์นี้ให้ได้ผล<ref name=Foose/> มีเพียงหกแห่งเท่านั้นที่มีกระซู่อยู่กันเป็นสังคมคือ อุทยานแห่งชาติบุกิต บาริสซัน ซลาตัน (Bukit Barisan Selatan) อุทยานแห่งชาติกุนนุง ลอุสเซร์ (Gunung Leuser) อุทยานแห่งชาติกรินจี เซอบลัต (Kerinci Seblat) และ อุทยานแห่งชาติวาย์ กัมบัส (Way Kambas) บนเกาะสุมาตรา [[อุทยานแห่งชาติทามันเนการา]]ในคาบสมุทรมาเลเซียตะวันตก และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตาบิน (Tabin) ใน[[รัฐซาบาห์]] [[ประเทศมาเลเซีย]]บนเกาะบอร์เนียว<ref name=Dinerstein/><ref name="Habitat loss">{{Cite book | author = Dean, Cathy | coauthors = Tom Foose | year = 2005 | chapter = Habitat loss | pages = 96–98 | editor = Fulconis, R. | title = Save the rhinos: EAZA Rhino Campaign 2005/6 | location = London | publisher = [[European Association of Zoos and Aquaria]] }}</ref>
 
ในประเทศไทยเองก็มีรายงานถึงการพบกระซู่ในหลายๆแห่งได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว [[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] [[อุทยานแห่งชาติเขาสก]] [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง]] [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง|เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร]]<ref name="สารคดี" /> แต่ในปัจจุบันคาดว่ายังมีกระซู่หลงเหลืออยู่แค่ที่[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา]]บริเวณป่าฮาลาบาลา<ref name="สารคดี" /><ref name="กองทุนสัตว์ป่าโลก" />แต่ก็ไม่มีการพบเห็นมานานแล้วทำให้กระซู่จัดเป็นสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ (EW) แล้วในประเทศไทย<ref>ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย [http://chm-thai.onep.go.th/RedData/Default.aspx?GroupOf=MAMMAL กระซู่] ข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม</ref>
 
การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ในประชากรของกระซู่สามารถระบุเชื้อสายทางพันธุกรรมที่ต่างกันได้สามสาย<ref name= Morales/> [[ช่องแคบมะละกา|ช่องแคบระหว่างสุมาตราและมาเลเซีย]]ไม่เป็นอุปสรรคต่อกระซู่เหมือนกับภูเขาบารีซัน (Barisan) ดังนั้นกระซู่ในสุมาตราตะวันออกและคาบสมุทรมาเลเซียตะวันตกจึงมีความใกล้ชิดกันมากกว่ากระซู่ในอีกด้านของภูเขาในสุมาตราตะวันตก กระซู่ในสุมาตราตะวันออกและมาเลเซียแสดงความแตกต่างทางด้านพันธุกรรมเพียงเล็กน้อย ซึ่งหมายถึงประชากรไม่ได้แยกจากกันในสมัย[[ไพลสโตซีน]] อย่างไรก็ตามประชากรกระซู่ทั้งในสุมาตราและมาเลเซียที่มีความใกล้เคียงกันในทางพันธุกรรมมากจนสามารถผสมพันธุ์กันได้อย่างไม่เป็นปัญหา กระซู่ในบอร์เนียวนั้นต่างออกไปเป็นพิเศษว่าเพื่อการอนุรักษ์ความผันแปรของพันธุกรรมควรจะฝืนผสมข้ามกับเชื้อสายประชากรอื่น<ref name= Morales/> เมื่อเร็วๆนี้ มีการศึกษาการอนุรักษ์ความผันแปรของพันธุกรรมโดยศึกษาความหลากหลายของจีนพูล (gene pool) ในประชากรโดยการระบุบไมโครแซททัลไลท์ โลไซ (microsatellite loci) ผลทดสอบในเบื้องต้นพบว่าเมื่อเปรียบเทียบระดับของความหลากหลายในประชากร กระซู่นั้นมีความหลากหลายน้อยกว่าแรดแอฟริกาที่ใกล้สูญพันธุ์ แต่ความหลากหลายทางพันธุกรรมของกระซู่ยังคงต้องมีการศึกษาต่อไป<ref name=Scott04>{{Cite journal | author = Scott, C. | coauthors = T.J. Foose, C. Morales, P. Fernando, D.J. Melnick, P.T. Boag, J.A. Davila, P.J. Van Coeverden de Groot | year = 2004 | title = Optimization of novel polymorphic microsatellites in the endangered Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Molecular Ecology Notes | volume = 4 | page = 194–196 | pages = 194 | doi = 10.1111/j.1471-8286.2004.00611.x}}</ref>
 
== พฤติกรรม ==
บรรทัด 143:
แม้จะหายาก แต่ก็มีการจัดแสดงกระซู่อยู่ในบางสวนสัตว์เกือบศตวรรษครึ่ง สวนสัตว์[[ลอนดอน]]ได้รับกระซู่ 2 ตัวในปี พ.ศ. 2415 หนึ่งในนั้นเป็นเพศเมียชื่อ บีกัม (''Begum'') จับได้ที่จิตตะกอง (Chittagong) ในปี พ.ศ. 2411 และมีชีวิตรอดได้ถึงปี พ.ศ. 2443 เป็นกระซู่ที่มีอายุมากที่สุดในกรงเลี้ยงที่มีบันทึกไว้ ในเวลาที่ได้รับกระซู่มานั้น ฟิลลิป สเคลเตอร์ (Philip Sclater) เลขานุการสมาคมสัตวศาสตร์แห่งลอนดอนอ้างว่ากระซู่ตัวแรกในสวนสัตว์เป็นกระซู่ที่อยู่ในสวนสัตว์[[ฮัมบูร์ก]]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 ก่อนที่กระซู่ชนิดย่อย ''Dicerorhinus sumatrensis lasiotis'' จะสูญพันธุ์ มีกระซู่ชนิดนี้อย่างน้อย 7 ตัวในสวนสัตว์และโรงละครสัตว์<ref name=LitStud/> กระซู่มีสุขภาพและการเจริญเติบโตไม่ดีนักเมื่ออยู่นอกถิ่นอาศัยตามธรรมชาติ กระซู่ในสวนสัตว์[[โกลกาตา|กัลกัตตา]]ได้ให้กำเนิดลูกในปี พ.ศ. 2432 แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ไม่มีลูกกระซู่เกิดในสวนสัตว์อีกเลย ในปี พ.ศ. 2515 กระซู่ตัวสุดท้ายในกรงเลี้ยงได้ตายลงที่สวนสัตว์[[โคเปนเฮเกน]]<ref name=LitStud/> ประเทศไทยเองก็เคยนำกระซู่เพศเมียมาจัดแสดงที่สวนสัตว์ดุสิต โดยได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย มีชื่อว่า ''ลินจง'' แต่ตายไปในปี พ.ศ. 2529<ref>The Star, 1986. "Rare rhino dies in Bangkok." Saturday, November 22 nd, 1986. Kuala Lumpur</ref><ref>L. C. Rookmaaker,Heinz-Georg Klös, "The rhinoceros in captivity", pp.135</ref>
 
ถึงแม้ว่าการขยายพันธุ์กระซู่ในกรงเลี้ยงจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่ในตอนต้นของคริสต์ทศวรรษ 1980 องค์กรได้เริ่มโปรแกรมขยายพันธุ์กระซู่อีกครั้ง ในระหว่างปี พ.ศ. 2527-2539 โปรแกรมการอนุรักษ์ ''[[ex situ]]'' ได้จับกระซู่จำนวน 40 ตัวจากถิ่นอาศัยและส่งไปตามสวนสัตว์และเขตสงวนทั่วโลก ขณะที่ความหวังในตอนเริ่มโปรแกรมมีสูงมาก และได้มีการศึกษาถึงพฤติกรรมกระซู่ในกรงเลี้ยงมากมาย แต่เมื่อถึงตอนปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ไม่มีกระซู่ในโปรแกรมให้กำเนิดลูกแม้แต่ตัวเดียว ในปี พ.ศ. 2540 กลุ่มเชี่ยวชาญพิเศษในแรดเอเชียของ [[IUCN]] ได้เข้ามารับรอง ประกาศถึงความล้มเหลวว่า แม้อัตราการตายเป็นที่ยอมรับได้ แต่ไม่มีลูกกระซู่เกิดขึ้นมาเลย และมีกระซู่ตายถึง 20 ตัว<ref name=Dinerstein/><ref name=Foose/> ในปี พ.ศ. 2547 มีการระบาดของโรคพยาธิในเลือดทำให้กระซู่ในศูนย์อนุรักษ์ที่อยู่ในคาบสมุทรมาเลเซียตะวันตกตายทั้งหมด ทำให้จำนวนกระซู่ในกรงเลี้ยงลดลงเหลือ 8 ตัว<ref name=Vellayan>{{Cite journal | author = Vellayan, S. | coauthors = Aidi Mohamad, R.W. Radcliffe; L.J. Lowenstine, J. Epstein, S.A. Reid, D.E. Paglia, R.M. Radcliffe, T.L. Roth, T.J. Foose, M. Khan, V. Jayam, S. Reza, and M. Abraham | year = 2004 | title = Trypanosomiasis (surra) in the captive Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis sumatrensis) in Peninsular Malaysia | journal = Proceedings of the International Conference of the Association of Institutions for Tropical Veterinary Medicine | volume = 11 | pages = 187–189 }}</ref><ref name=Strien2001/>
 
มีกระซู่ 7 ตัวที่ถูกส่งไป[[สหรัฐอเมริกา]] (ที่เหลืออยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) แต่เมื่อถึงปี พ.ศ. 2540 จำนวนกระซู่ก็เหลือเพียงแค่ 3 ตัวคือ เพศเมียที่สวนสัตว์[[ลอสแอนเจลิส]] เพศผู้ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ และเพศเมียที่สวนสัตว์[[เดอะบร็องซ์|บร็องซ์]] ท้ายที่สุดก็ได้ย้ายกระซู่ทั้งสามมาอยู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ หลังความพยายามที่ล้มเหลวเป็นปี เพศเมียจากลอสแอนเจลิส ''เอมี (Emi)'' ก็ตั้งท้องถึงหกครั้งกับเพศผู้ ''อีปุห์ (Ipuh)'' ห้าครั้งแรกจบลงด้วยความล้มเหลว แต่นักวิจัยได้เรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น และด้วยการช่วยเหลือด้วยการบำบัดด้วยฮอร์โมนพิเศษ เอมีจึงให้กำเนิดลูกเพศผู้ที่ชื่อ ''อันดาลัส (Andalas)'' (คำในวรรณคดี[[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]ที่ใช้เรียก "[[สุมาตรา]]") ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2544<ref name=CincZoo1>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/Legacy/legacy.html | title = Andalas - A Living Legacy | work = [[Cincinnati Zoo]] | accessdate = 2007-11-04}}</ref> การให้กำเนิดอันดาลัสนับเป็นความสำเร็จครั้งแรกใน 112 ปี ที่กระซู่สามารถให้กำเนิดลูกในกรงเลี้ยงได้ ลูกกระซู่เพศเมีย ชื่อ ''ซูจี (Suci)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "บริสุทธิ์") ก็ถือกำเนิดเป็นตัวถัดมาในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547<ref name=CincZoo2>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/announcement.html | title = It's a Girl! Cincinnati Zoo's Sumatran Rhino Makes History with Second Calf | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"