ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| type = 1
| pattern = O
| image =Pitak_Ratthathammanun_Monument.JPG
| caption =
| ID = [[รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร|N110]]
บรรทัด 24:
อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เคยใช้เป็นสถานที่เพื่อนัดชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]] (นปช.) ในปี พ.ศ. 2553<ref>[http://www.prachatai.com/category/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D http://www.prachatai.com] ''อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ'' เรียกข้อมูลวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554</ref> นอกจากนี้ยังมีประเพณีตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ ณ บริเวณอนุสาวรีย์แห่งนี้เป็นประจำทุกปี
 
== ประวัติ ==
{{ดูเพิ่มที่|กบฏบวรเดช}}
ในสมัย[[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของไทย ได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองขึ้น สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยในปี พ.ศ. 2475 โดย[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม รวมทั้งนายทหารอื่นๆ ซึ่งไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จึงก่อการรัฐประหารโดยนำกองทหารเพชรบุรี โคราช และอุดร บุกเข้ายึดพื้นที่เขตดอนเมืองและบางเขนไว้ ภายหลังการปราบกบฏแล้วนั้น รัฐบาลจึงมีดำริก่อสร้างอนุสาวรีย์เพื่อบรรจุอัฐินายทหารและตำรวจของรัฐบาลที่เสียชีวิตในการปฏิบัติการดังกล่าว<ref>พะเยาว์ เขียวชะอุ่ม, ณัฏฐิยา วงศ์สุวรรณ
[http://www.skn.ac.th/skl/project/anud92/kaew8.htm อนุเสาวรีย์ของไทย] เรียกข้อมูลวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554</ref> จึงดำเนินการก่อสร้างอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญในราวปี พ.ศ. 2479 โดยหลวงนฤมิตรเลขการเป็นผู้ออกแบบอนุสาวรีย์ ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จและทำพิธีเปิดในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 โดย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ทรงประกอบพิธีเปิด
 
== รายละเอียดการก่อสร้าง ==