ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:GDP_per_capita_PPP_2014-en.svg|400px|thumb|จีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014]]
 
'''ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ''' ({{lang-en|purchasing power parity, PPP}}) หรือ '''ประสิทธิผลของเงิน''' เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้[[ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์]] เพื่อคำนวณหามูลค่าที่แท้จริงของระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการใน[[สกุลเงินสหรัฐอเมริกา]]แต่ละประเทศเป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงิน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]
 
== ในบริบทของจีดีพี ==
[[จีดีพี]]แบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ จะสะท้อนว่าประเทศนั้นๆได้ผลิตสินค้าและบริการรวมกันมากน้อยแค่ไหนหากใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริหาเป็นฐานในการคำนวณ อาทิ ประเทศไทยผลิตน้ำตาลในหนึ่งปีได้หนึ่งแสนตัน การคำนวณแบบ PPP จะไม่สนว่าหนึ่งแสนตันนี้จะจำหน่ายในประเทศและส่งออกได้เงินเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ แต่เราจะสนว่าราคาน้ำตาลในสหรัฐอเมริกาเป็นเท่าไหร่แล้วจึงนำราคานั้นมาคำนวณมูลค่า ก็จะได้เป็น PPP จากภาคอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทย
[[จีดีพี]]แบบภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีจีดีพี (พีพีพี) สูงกว่าจีดีพี (ตัวเงิน) อาทิ
 
[[ดังนั้นจีดีพี]]แบบภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ มักจะสะท้อนอำนาจการบริโภคหรือชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีกว่าจีดีพีแบบตัวเงิน ประเทศกำลังพัฒนา มักจะมีจีดีพี (พีพีพี) สูงกว่าจีดีพี (ตัวเงิน) อาทิ
 
{|class="wikitable" style="text-align: right"