ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศคอซอวอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6635938 สร้างโดย 118.172.205.176 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = Republika e Kosovës {{sq icon}}<br />Република Косово {{sr icon}}
| conventional_long_name = สาธารณรัฐโคโซโวคอซอวอ
| common_name = โคโซโวคอซอวอ
|image_flag = Flag of Kosovo.svg
|image_coat = Coat of arms of Kosovo.svg
| image_map = Europe_location_KOS.png
| map_caption = ตำแหน่งของโคโซโวคอซอวอใน[[ทวีปยุโรป]]
| national_anthem = [[ยุโรป (เพลงชาติ)|ยุโรป (Europe)]]
| official_languages = [[ภาษาแอลเบเนีย]]และ[[ภาษาเซอร์เบีย]]
บรรทัด 19:
| sovereignty_type = ประกาศเอกราช{{smallsup|1}}
| sovereignty_note = จาก [[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]]
| established_event1 = [[การประกาศเอกราชของโคโซโวคอซอวอ พ.ศ. 2551|ประกาศ]]
| established_date1 = [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]]
| area_magnitude = 1 E10
บรรทัด 39:
| utc_offset = +1
| utc_offset_DST = +2
| footnotes = <sup>1</sup>การประกาศเอกราชได้รับการรับรองในระดับนานาชาติเพียงบางส่วน<br /><sup>2</sup>[[ดีนาร์เซอร์เบีย]]ใช้กันในเขตอาศัยของชาวเซิร์บและเขต[[นอร์ทโคโซโวคอซอวอ]]
}}
 
'''โคโซโวคอซอวอ'''<ref>ตัวสะกดตามที่ใช้ในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐโคโซโวคอซอวอ</ref> ({{lang-sr|Косово, Kosovo}}; {{lang-sq|Kosovë, Kosova}}) เป็นภูมิภาคหนึ่งใน[[คาบสมุทรบอลข่าน]] ติดกับ[[ประเทศเซอร์เบีย]]ทางทิศเหนือ [[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]]ทางตะวันตก [[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]]และ[[ประเทศมาซิโดเนีย|สาธารณรัฐมาซิโดเนีย]]ทางใต้ [[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล|ไม่มีทางออกสู่ทะเล]] โคโซโวคอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]] ใช้ชื่อว่า '''สาธารณรัฐโคโซโวคอซอวอ''' (Republic of Kosovo) มีการรับรองจากบางประเทศ ในขณะที่เซอร์เบียยังคงถือว่าโคโซโวคอซอวอเป็นจังหวัดปกครองพิเศษของตน
 
เมืองหลวงของโคโซโวคอซอวอคือ[[พริชตีนา]] (Priština) จำนวนประชากรทั้งจังหวัดประมาณ 2 ล้าน 1 แสนคน ส่วนใหญ่เป็นชาติพันธุ์[[ชาวแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]] (ร้อยละ 92) [[ชาวเซิร์บ]] (ร้อยละ 5.3) และมี[[ชาวตุรกี]] [[ชาวบอสนีแอก]] กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกเล็กน้อย (รวมกันร้อยละ 2.7)
 
โคโซโวคอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของ[[สหประชาชาติ]]มาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2542]] ในขณะที่[[เอกราช]]ของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองโคโซโวคอซอวออยู่คือ[[คณะทำงานสหประชาชาติในโคโซโวคอซอวอ]] (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และ[[สถาบันการปกครองตนเองชั่วคราว]]ของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมี[[กองกำลังโคโซโวคอซอวอ]] (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำของ[[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]] (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง
 
จังหวัดโคโซโวคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย (ก่อนหน้านี้คือ[[ชาวยูโกสลาฟ]]) กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี [[พ.ศ. 2549]] เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง<ref>"[http://www.economist.com/displaystory.cfm?story_id=4489028 Kosovo's status - the wheels grind on]", ''The Economist'', October 6, 2005.</ref><ref>"[http://www.economist.com/world/europe/displaystory.cfm?story_id=8115800 A province prepares to depart]", ''The Economist'', November 2, 2006.</ref><ref>"[http://www.nytimes.com/2006/11/02/world/europe/02kosovo.html?_r=1&adxnnl=1&oref=slogin&ref=world&adxnnlx=1162848637-NqqL4KPuLsP8lqxEzYdhGQ Kosovo May Soon Be Free of Serbia, but Not of Supervision]", by Nicholas Wood, ''The New York Times'', November 2, 2006.</ref><ref>"[http://abcnews.go.com/International/wireStory?id=2665691&CMP=OTC-RSSFeeds0312 Serbia shrinks, and sinks into dejection]", by WILLIAM J. KOLE, ''The Associated Press'', November 19, 2006.</ref> ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 รัฐสภาของโคโซโวคอซอวอประกาศเอกราชของประเทศแต่เพียงฝ่ายเดียว
 
== การออกเสียง ==
ชื่อ ''โคโซโวคอซอวอ'' นิยมใช้ใน[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า ''Kosovo'' ซึ่งถอดรูปมาจาก ''Косово'' ออกเสียง {{IPA|/ˈkɔsɔvɔ/}} (''โคโซโวคอซอวอ'') ใน[[ภาษาเซอร์เบีย]] ในขณะที่[[ภาษาแอลเบเนีย]]ใช้ชื่อว่า ''Kosova'' ออกเสียง {{IPA|/kɔˈsɔva/}} (''โคโซคอซอวา'') ส่วนเว็บไซต์ของ[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ระบุชื่อในภาษาไทยไว้เป็น "โคโซโวคอซอวอ"<ref>[http://www.royin.go.th/th/faq/index.php?SystemModuleKey=110&GroupID=14 คำถามที่พบบ่อย: ชื่อประเทศ] ราชบัณฑิตยสถาน เรียกข้อมูลวันที่ 28 ก.พ. 2551</ref>
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ดินแดนโคโซโวคอซอวอมีผู้อาศัยดั้งเดิมตั้งแต่ยุคสำริด คือชาว[[อิลลีเรีย]] เผ่าดาร์ดานี โดยที่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ระบุถึงราชอาณาจักรดาร์ดาเนีย เมื่อ 400 ปีก่อนคริสตกาล ดินแดนโคโซโวคอซอวอถูกเรียกว่า ดาร์ดาเนีย มาจนถึงศตวรรษที่ 19 ต่อมาราว 100 ปีก่อนคริสตกาล ดาร์ดาเนียได้ตกอยู่ใต้การปกครองของโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์ ชาวเซิร์บอพยพเข้ามาอยู่ในดินแดนนี้พร้อมคลื่นผู้อพยพกลุ่มต่าง ๆ ที่ทยอยกันมาจากเทือกเขาอูราลเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7-8 เพื่อมาตั้งรกรากในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป และกระจัดกระจายกันออกไปในนามต่าง ๆ กัน เช่น เซิร์บ โครแอต มาซิโดเนีย และสโลวีเนีย การอพยพเข้ามาของกลุ่มเหล่านี้ทำให้เกิดการปะทะกับเจ้าของดินแดนเดิม จนปี [[พ.ศ. 1749]] ชาวเซิร์บจึงเข้ายึดครองดินแดนแถบโคโซโวคอซอวอได้ แต่ต่อมาก็ต้องเจอกับอำนาจที่เหนือกว่าคือจักรวรรดิมุสลิมออตโตมันเติร์ก ซึ่งได้เข้ายึดและปกครองดินแดนแถบนี้ 500 ปี เริ่มตั้งแต่[[สงครามคอซอวอ]] ([[พ.ศ. 1932]]) ไปจนถึง [[พ.ศ. 2455]]
 
หลังสงครามบอลข่านใน พ.ศ. 2455 เซอร์เบียก็เข้ายึดครองโคโซโวคอซอวอ และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของ[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย|ยูโกสลาเวีย]]ใน [[พ.ศ. 2461]] จากนั้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศได้ถูกปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม (ไม่ขึ้นต่อสหภาพโซเวียต) โดยมีนายพลติโต เป็นประธานาธิบดี และเมื่อระบอบคอมมิวนิสต์ล่มสลายในปี [[พ.ศ. 2532]] รัฐต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นยูโกสลาเวียก็พากันแยกตัวเป็นประเทศอิสระ ได้แก่ [[สโลวีเนีย]] [[โครเอเชีย]] [[มาซิโดเนีย]] [[บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา|บอสเนีย]] [[มอนเตเนโกร]]
 
โคโซโวคอซอวอเองเจอปัญหาจากความคลั่งชาติของอาชญากรสงคราม [[สลอบอดัน มีลอเชวิช]] มาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2533]] จนกระทั่งเหตุการณ์ตึงเครียดสุดเมื่อเซอร์เบียส่งกองทัพเข้าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวมุสลิมในโคโซโวคอซอวอในปี [[พ.ศ. 2541]] ทำให้[[นาโต]] ต้องยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ โดยส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดจนเซอร์เบียต้องยอมถอนทหาร และในเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2542]] กองทหารนาโต 40,000 คนเข้ารักษาความมั่นคงในโคโซโวคอซอวอ เป็นการยุติบทบาทของเซอร์เบียในโคโซโวคอซอวอ ทำให้ตั้งแต่ปี นั้นเป็นต้นมา โคโซโวคอซอวอจึงเป็นจังหวัดหนึ่งของเซอร์เบียเพียงแต่ในนาม ในขณะที่การบริหารงานทุกอย่างอยู่ภายใต้การดูแลของสหประชาชาติ โดยมีโดยกองกำลังทหารของสหประชาชาติ นำโดยนาโต รักษาความปลอดภัยในประเทศ
 
ทั้งนี้ หลังจากรัฐสภาโคโซโวคอซอวอลงมติเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์ [[ฮาชิม ทาชี]] นายกรัฐมนตรีโคโซโวคอซอวอ ได้ประกาศแยกโคโซโวคอซอวอออกจากเซอร์เบียเป็นประเทศอิสระ ในวันที่ [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]] โดยมีประเทศหลักที่ให้การสนับสนุนการประกาศเอกราชของโคโซโวคอซอวอคือ [[สหรัฐอเมริกา]]และ[[สหภาพยุโรป]]
 
== การรับรองเอกราช ==
[[ไฟล์:CountriesRecognizingKosovo.png|thumb|แผนที่แสดงการรับรองการประกาศเอกราชของโคโซโวคอซอวอ]]
หลังจากการประกาศเอกราชของโคโซโวคอซอวอ มีหลายประเทศให้การรับรองการประกาศเอกราช เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] [[สหราชอาณาจักร]] [[ประเทศตุรกี|ตุรกี]] [[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]] [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] [[สาธารณรัฐจีน|สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)]] และอีกหลายประเทศ ในขณะเดียวกัน มีหลายประเทศที่ประกาศชัดเจนว่า ไม่รับรองเอกราชของโคโซโวคอซอวอ นอกจาก[[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]]ซึ่งเป็นคู่กรณีแล้ว มี[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] [[ประเทศสเปน|สเปน]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] และอีกหลายประเทศ ส่วนไทยเป็นประเทศลำดับที่ 104 ที่ให้การรับรองโคโซโวคอซอวอ โดยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในปี พ.ศ. 2556<ref>สำนักนายกรัฐมนตรี. [http://www.mfa.go.th/main/contents/files/media-center-20131122-154623-743140.pdf '''ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐโคโซโวคอซอวอ]''' 2556.</ref>
 
== อ้างอิง ==