ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491''' เกิดขึ้นในเช้าวันที่ [[6 เมษายน]] [[พ.ศ. 2491]] เป็นการทำรัฐประหารโดยบุคคลกลุ่มเดียวกันกับที่ทำรัฐประหารรัฐบาล [[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์|พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] เมื่อวันที่ [[8 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]] กล่าวคือเป็นกลุ่มบุคคลที่สนับสนุน [[ป. พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] อดีตนายกรัฐมนตรี ที่พ้นตำแหน่งไปภายหลังการสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
==การรัฐประหาร==
 
โดยที่ภายหลังจากกลุ่มนายทหารนำโดย [[ผิน ชุณหะวัณ|พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ]] (ยศขณะนั้น) ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาล [[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์|พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] เมื่อวันที่ [[8 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]] แล้วได้แต่งตั้งให้ [[ควง อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] หัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] พรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร รักษาการในตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] เพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไปสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)
เส้น 13 ⟶ 15:
ที่สุดในเวลา 16.00 น. ที่ประชุมได้ร่างใบกราบบังคมทูลลาออกของนายควงเสร็จ และมีมติให้ นายควงพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2491]] และปลายเดือนเมษายน ปีเดียวกันนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติให้ [[ป. พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ เป็นการเริ่มต้นครองอำนาจของ จอมพล ป. ครั้งใหม่ที่ยาวนานถึงเกือบ 10 ปี
 
เนื่องจากรัฐประหารครั้งนี้ กระทำเป็นการภายในใช้นายทหารเพียงไม่กี่คน โดยไม่มีการเคลื่ยนย้ายกำลังพลใด ๆ ทำให้ได้ชื่อว่า "'''รัฐประหารเงียบ'''" ซึ่ง[[สื่อมวลชน]]ในขณะนั้นเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่าเป็น "'''การจี้นายกรัฐมนตรี'''"<ref>หนังสือ นายควง อภัยวงศ์ กับพรรคประชาธิปัตย์ โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม ([[กรุงเทพมหานคร]], [[พ.ศ. 2522]])</ref>
{{วิกิซอร์ส|ใบกราบบังคมทูลลาออกของพันตรี ควง อภัยวงศ์}}{{วิกิซอร์ซ|คำบรรยายเหตุการณ์รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491}}
 
== สภาร่างรัฐธรรมนูญ ==
'''สภาร่างรัฐธรรนูญ พ.ศ. 2491''' เป็น[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|สภาร่างรัฐธรรมนูญคณะแรกของประเทศไทย]] โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) เพื่อทำหน้าที่ร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492]] โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ สมาชิกที่มาจากสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทน และสมาชิกที่มาจากผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทน รวมจำนวน 40 คน<ref>[{{cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/D/040/2089.PDF|title= ประกาศประธานวุฒิสภา เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ]|format=PDF|publisher=ราชกิจจานุเบกษา}}</ref>
 
== สมาชิก ==
เส้น 68 ⟶ 70:
 
== อ้างอิง ==
* หนังสือ นายควง อภัยวงศ์ กับพรรคประชาธิปัตย์ โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม ([[กรุงเทพมหานคร]], [[พ.ศ. 2522]])
{{รายการอ้างอิง}}