ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟร็องซัว ราวายัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 56:
{{คำพูด|ก่อนจะถูกฉุดลากแยกร่าง... เขาถูกลวกด้วยกำมะถันที่กำลังลุกไหม้ ตะกั่วหลอมเหลว กับทั้งน้ำมันและยางสนที่กำลังเดือด จากนั้นจึงถูกคีมบิดฉีกเนื้อตัว}}
 
ครั้นราวาแยกยักถูกประหารแล้ว บิดามารดาของเขาถูกเนรเทศ ครอบครัวของเขาถูกห้ามใช้ชื่อ "ราวายัก" อีก
 
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1611 [[Jacqueline d'Escoman|ฌักเกอลีน แดสโกม็อง]] (Jacqueline d'Escoman) เพื่อนของราวาแยกยัก ไปแจ้งความว่า [[Jean Louis de Nogaret de La Valette|ดุ๊กแห่งเดแปร์น็อง]] (Duc d'Épernon) เป็นอีกคนหนึ่งที่รู้เห็นเรื่องปลงพระชนม์พระเจ้าอ็องรี แต่นางถูกจำคุกชั่วชีวิต
 
ฟีลิป แอร์ล็องแฌร์ (Philippe Erlanger) เขียนข้อสันนิษฐานของตนไว้ในหนังสือ ''เลทร็องมอร์เดออ็องรีกัทร์'' (L'Étrange Mort de Henri IV; "ปริศนามรณะอ็องรีที่ 4") เมื่อ ค.ศ. 1957 ว่า [[Charlotte du Tillet|ชาร์ล็อต ดู ตีแย]] อนุภริยาของขุนนาง[[Jean Louis de Nogaret de La Valette|ฌ็อง ลุย เดอ โนกาแร เดอ ลา วาแย็ต]] กับ[[Catherine Henriette de Balzac d'Entragues|อ็องรีแย็ต ด็องทร็อก]] (Henriette d'Entragues) อนุภริยาของพระเจ้าอ็องรีที่ 4 เป็นตัวตั้งตัวตีลอบปลงพระชนม์<ref>"Almost up to the time of the assassination he continued to consult with clerics, a risky and highly ambivalent behaviour which invited discovery or prevention, and at the same time precluded both." (Walker and Dickerman 1995 ([http://findarticles.com/p/articles/mi_qa3686/is_/ai_n28660311 on-line text p.17])</ref>