ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแก้วนวรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
 
== พระประวัติ ==
เจ้าแก้วนวรัฐประสูติเมื่อวันที่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]] เป็นราชโอรสใน[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] เจ้าผู้ครองเชียงใหม่องค์ที่ 7 ประสูติแต่แม่เจ้าเขียว และเป็นเจ้านัดดา (หลานปู่) ใน[[เจ้าพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)]] เจ้าพระยาราชวงศ์นครเชียงใหม่ เจ้าแก้วนวรัฐมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ '''เจ้าหญิงจอมจันทร์ ณ เชียงใหม่''' เมื่อโตขึ้นได้เลื่อนอิสริยยศตามลำดับ จนกระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2447 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''เจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/050/932_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 21, ตอน 50, 12 มีนาคม ร.ศ. 123, หน้า 932</ref>
 
เจ้าแก้วนวรัฐมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ '''เจ้าหญิงจอมจันทร์ ณ เชียงใหม่'''
 
ครั้น[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2452 แล้ว [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งทรงทราบความที่[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]] ถวายบังคมลาไปประทับที่นครเชียงใหม่ก่อนแล้ว จึงมีพระราชดำรัสกับเจ้าดารารัศมีให้เลือกผู้แทนเจ้าอินทวโรรส ที่ว่า
เส้น 31 ⟶ 29:
{{คำพูด|ในการเลือกเจ้านครเชียงใหม่แทนเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ตามกฎต้องให้ทายาทผู้สืบตระกูลรับตำแหน่งนี้ ซึ่งควรจะต้องได้แก่[[เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)|เจ้าราชบุตร (เลาแก้ว)]] ทายาทแต่ผู้เดียว แต่ในตำแหน่งนี้จะต้องเป็นพระอภิบาลเจ้าดารารัศมี พระราชยายาในรัชกาลที่ 5 ด้วย ในขณะนี้เจ้าราชบุตรยังอายุน้อยอยู่ ฉะนั้นพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจึงขอเลือกเจ้าอุปราชแก้ว รับหน้าที่นี้ก่อน...|วชิราวุธ ป.ร.}}
 
ดังนั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าอุปราชแก้ว ขึ้นเป็น'''(เจ้าแก้วนวรัฐ ประพัทธอินทนันทพงษ์ ดำรงนพีสีนครเขตต์ ทศลักษณเกษตรอุดม บรมราชสวามิภักดิ์ บริรักษปัจฉิมานทิศ สุจริตธรรมธาดา มหาโยนางคราชวงศาธิบดีแก้ว) ว่าที่เจ้านครเชียงใหม่''' ขึ้นผู้ครองนครเชียงใหม่ ในตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 24532452<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/2415.PDF แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่], เล่ม 26, 23 มกราคม ร.ศ. 128, หน้า 2415</ref> (หากนับวันขึ้นศักราชเป็นต่อมาในวันที่ 111 เมษายนพฤศจิกายน จะนับพ.ศ. 2454 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นเจ้านครเชียงใหม่ มีราชทินนามว่า ''เจ้าแก้วนวรัฐ ประพัทธ์อินทนันทพงษ์ ดำรงนพิสีนครเขตร ทศลักษณเกษตรอุดม บรมราชสวามิภักดิ์ บริรักษ์ปัจฉิมานุทิศ สุจริตธรรมธาดา มหาโยนางคราชวงษาธิบดี ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1808.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์], เล่ม 28, ตอน 0 ง, 12 พฤศจิกายน ร.ศ. 2452)130, หน้า 1811</ref>
 
=== ฐานันดรศักดิ์ ===
เส้น 39 ⟶ 37:
* [[พ.ศ. 2447]] เป็นเจ้าอุปราช
* [[พ.ศ. 2454]] เป็นเจ้าหลวง
* [[พ.ศ. 2462]] เป็นนายพลตรี ราชองครักษ์พิเศษ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2462/D/2295.PDF แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งราชองครักษ์พิเศษ]</ref> และนายทหารพิเศษประจำกองทัพบกไทย
 
=== บั้นปลายชีวิต ===
เส้น 157 ⟶ 155:
| 2= [[พระเจ้าอินทรวิชยานนท์]]
| 3= แม่เจ้าเขียว
| 4= [[เจ้าพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)]]
| 5= แม่เจ้าคำหล้า
| 6= นายน้อยดี
เส้น 189 ⟶ 187:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
เส้น 196 ⟶ 195:
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, 2539.
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 216:
 
{{เรียงลำดับ|ก้วนวรัฐ}}
{{ประสูติปีอายุขัย|2405|2482}}
{{สิ้นพระชนม์ปี|2482}}
[[หมวดหมู่:เจ้าแก้วนวรัฐ| ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]